พระล้านนาดอทคอม แหล่งรวมพระเครื่องเมืองเหนือ
พระเครื่อง จ.พะเยา

เจ้าแม่โพสพ พระอาจารย์ไพบูลย์ วัดอนาลโย ปี 35 สร้าง สภาพเดิมๆ

(ปิดการประมูลแล้ว)

เจ้าแม่โพสพ พระอาจารย์ไพบูลย์ วัดอนาลโย ปี 35 สร้าง สภาพเดิมๆ


เจ้าแม่โพสพ พระอาจารย์ไพบูลย์ วัดอนาลโย ปี 35 สร้าง สภาพเดิมๆ

ชื่อพระ :
 เจ้าแม่โพสพ พระอาจารย์ไพบูลย์ วัดอนาลโย ปี 35 สร้าง สภาพเดิมๆ
รายละเอียด :
 

ดูรูปด้านล่างสุด ประกอบ

 

ตำนานเจ้าแม่โพสพ เทวีแห่งข้าวปลาอาหาร
     กล่าวไว้ว่าพระพรหมทรงแบ่งภาคส่วนหนึ่งลงมาเป็นพระไพรศรพณ์ เหตุด้วยว่าเพราะตบะอันแก่กล้า เต็มไปด้วยบารมีถึงขั้นสูงสุดของ ประไลยโกฎิดาบส จึงทำให้อาสนะของพระพรหมเบื้องบนสวรรค์ถึงกับ ร้อนอาสน์ขึ้นมา ทันใดนั้นพระพรหมจึงทรงตรวจตราดูบนโลกมนุษย์ว่ามีเหตุใดให้พระองค์ช่วยเหลือ เหล่ามนุษย์ได้บ้าง และทรงมองเห็นพระดาบส นามประไลยโกฎิได้บำเพ็ญตบะด้วยความมุ่งมั่น แต่ต้องหิวโหยอดอยากเพราะ ขาดอาหารอยู่ในชายป่าริมแม่น้ำ
     เมื่อเป็นดังนั้นพระองค์จึงแบ่งภาคส่วนหนึ่งลงมาเป็นพระไพรศรพณ์ ได้เนรมิตบันดาลให้เกิดฝนตกทั่วบริเวณอาศรม ต่อมาเมื่อฝนซา พระดาบสได้พบกับเมล็ดข้าวสาลีโปรยทั่วบริเวณพื้นดิน และงอกเติบโตขึ้นเป็นรวงข้างสุกเหลืองอร่ามทั่วบริเวณอาศรมนั้น พระดาบสจึงได้เก็บเกี่ยว รวงข้าวมารับประทาน และได้นำไปแจกจ่ายให้แก่ชาวบ้าน บางส่วนให้เป็นอาหารของนกกาจิกกิน
     พระดาบสได้ดูแลรดน้ำต้นข้าวสาลีอย่างสม่ำเสมอ และได้แบ่งเมล็ดพันธ์ไปให้ชาวบ้านนำไปเพาะปลูกจนมีข้าวสาลีมากมายในหมู่บ้านใกล้ๆ และที่อยู่ห่างไกลออกไปบริเวณชายป่านั้น ทำให้ชาวบ้านพ้นจากความอดอยากดังเช่นอดีต
ประไลยโกฏิดาบส จึงบอกชาวบ้านเหล่านั้นให้บูชาบวงสรวงพระแม่ไพรศรพณ์ด้วยความเคารพนับถือ ที่พระแม่เป็นผู้มอบข้าวปลาอาหารให้แก่พวกตนและเหล่ามวลมนุษย์สืบต่อไปจนปัจจุบัน
     บางตำรากล่าวไว้ว่าชื่อของพระแม่โพสพนั้นมีอีกชื่อคือ พระไพรศรพณ์ เพราะพระแม่นั้นได้อวตาร คือมีภาคที่เป็นเทพบุตรทรงนามว่า พระไพรศรพณ์ ส่วนอีกภาคเป็นสตรี มีพระนามว่าพระแม่โพสพ
     คนไทยเราจะคุ้นเคยพระแม่องค์นี้ในชื่อ พระแม่โพสพ ซึ่งคนไทยโบราณเมื่อรับประทานข้าวเสร็จแล้วจะยกมือพนม เพื่อไหว้ขอบคุณพระแม่โพสพพระแม่แห่งอาหาร ซึ่งบันดาลให้มนุษย์มีความอิ่มท้องไม่อดอยาก มีสุขภาพที่สมบูรณ์
     ลักษณะทางศิลปะ ...พระแม่ไพรศรพณ์ เป็นสตรีมีใบหน้างดงามยิ่งนัก รัดเกล้าเพียงน้อยแล้วปล่อยสยายประดับด้วยอัญมณี และทองคำสีเหมือนรวงข้าวภาพหนึ่ง นั่งอยู่บนอาสน์ที่งดงามยิ่ง บางภาพประทับนั่งอยู่บนพาหนะซึ่งเป็นหงส์ พระหัตถ์ข้างหนึ่งถือพระขรรค์ ส่วนอีกพระหัตถ์ถือรวงข้าว

กำเนิดแม่โพสพ เจ้าแม่แห่งข้าว
     แม่โพสพ เป็นเมล็ดข้าวประเสริฐสุด เป็นเทพีกลางท้องทุ่งนา ผู้ทรงอานุภาพศักดาเรืองฤทธิ์ ช่วยชุบชีวิตมนุษย์ให้ยืนยาง มีน้ำม่นวลผิวพรรณผ่องใส ช่วยสำรองท้องให้อิ่มหมีพีมัน อีกทั้งเสริมเพิ่มพลังกายามีเรี่ยวมีแรงขมีขมัน แบกหามตรากตรำงานหนักได้ทุกวี่ทุกวัน ก็ด้วยเมล็ดข้าวแม่โพสพนี่แหละ แม่ผู้มีบุญคุญล้ำเลิศ สงเคราะห์ลูกผู้ทุกข์โศก มิต้องอนารร้อนใจ ตราบจนชั่วชีวิต
     โอม..แม่โพศรี แม่โพสพ แม่นพดารา แม่จันทร์เทวี แม่ศรีโสภาได้เลี้ยงลูกมา ใหญ่กล้าเพียงนี้ลูกขอบวงสรวงด้วยพวงมาลี ธูปเทียนอัคคี ตามมีบูชาลูกขอนี้ไซร้ ขอยกบุญคุณ แม่โพสพ ขึ้นนบนอบเหนือเศียร
ตำนานหนึ่งเล่าว่า มีฤาษีมหากระไลย์โกฏอยู่สันโษในอรัญ บำเพ็ญพรหมขันธุ์ในกุฏิ เพลาหนึ่งเกิดอสุนีฟ้าฟาด อากาศวิปริตโกลาหล ฟ้าฝนก็ตกลงมามิหยุดหย่อน มีเมล็ดข้าวปลิวว่อนกระจาย พอฟ้าฝนหายฤๅษีก็เห็นเป็นอัศจรรย์ จึงจัดสรรนำไปปลูกริมฝั่งนทีสระน้ำ ฝนชะตลอดมา จนข้าวกล้าแตกรวง
     กาลล่วงเข้าฤดูหนาว เมล็ดข้าวก็แก่จัด พระฤๅษีก็โสมนัสยิ่งนัก ครั้นจะนำมากินก็กริ่งเกรงจะเบื่อเมา อันตัวเราก็พึ่งพบคราวนี้ คราวหนึ่งสกุลณีสกุณามาเป็นหมู่ บินจู่โจมกินข้าวสาลี ฤๅษีเห็นดังนั้นพลันรู้ว่า หมู่ปักษามิได้ตายวายชีวิต ก็คิดว่าคงเป็นอาหารอันโอชารส พระดาบสจึงเก็บพันธุ์ข้าวไว้เพาะปลูกกระจายลูกหลานเหลน ได้เป็นอาหารของมนุษย์สุดประเสริฐ โดยกำเนิดขององค์ดาบส ตราบเท่าทุกวันนี้
     ในขณะที่ ตำนานเรื่องแม่โพสพ ฉบับชาวพัทลุง ได้บอกเล่าเรื่องราวอันน่าสนใจของ เจ้าแม่แห่งข้าว เอาไว้ดังนี้ กล่าวคือ นานมาแล้ว มีเทพธิดาองค์หนึ่ง เป็นเทพธิดาแห่งข้าว อาศัยอยู่บนสวรรค์ มีความประสงค์จะให้มวลหมู่มนุษย์ทั้งหลายนี้มีข้าวกิน จึงจำแลงกายลงมาบนโลก ในร่างของหญิงชรา อันนำพาห่อผ้ามาด้วย ซึ่งในห่อผ้านี้เอง มีเมล็ดพันธุ์ข้าวอยู่
     หญิงชราเดินไปในหมู่บ้าน มีแต่ผู้คนรังเกียจ จนไปพบกระท่อมเก่าๆ หลังหนึ่ง ซึ่งมีผัวเมียผู้ใจบุญ แต่ยากไร้ซึ่งเงินทอง อาศัยให้ที่พักพิง หญิงชราซึ้งในน้ำใจของผัวเมียคู่นี้ จึงมอบห่อผ้าที่มีเมล็ดข้าวอยู่ข้างในให้ โดยบอกให้เอาเมล็ดข้าวนี้ไปโปรยลงสู่พื้นดิน
     เมื่อเมล็ดข้าวได้รับน้ำ ก็เกิดความชุ่มชื่น เจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว ออกรวงแล้วก็สุก และนำมากินเป็นอาหารได้ หญิงชราจึงให้ผัวเมียเอาเมล็ดพันธุ์ข้าวนี้ไปแจกจ่ายให้แก่ชาวบ้านในหมู่บ้าน แล้วบอกว่า นี่คืออาหารที่ใช้กินต่อไปในภายภาคหน้า เมื่อพูดจบหญิงชราก็หายตัวไป
     ต่อจากนั้น เมื่อถึงเดือนหกฝนก็เริ่มตก ชาวนาจะแรกไถนา และทำพิธีอัญเชิญแม่โพสพลงมาเพื่อช่วยดูแลรักษาต้นข้าว ต้องมีพิธีเรียกขวัญข้าว การกระทำทุกอย่างนี้ เพื่อตอบแทนคุณ และบูชาแม่โพสพ ที่ให้ข้าวแก่มนุษย์กิน จวบจนปัจจุบัน

บทเชิญขวัญแม่โพสพ
     ทุกวันนี้ก็ยังคงมืดมน ไม่ทราบชัดว่าผู้ใดเริ่มรจนาเรื่องราววของแม่โพสพ อาจมีเค้ามาตั้งแต่กรุงสุโขทัยเป็นราชธานี เมื่อ 700 ปีก่อน ดังปรากฏสำนวนว่า "ในน้ำมีปลาในนามีข้าว" อยู่เป็นหลักฐานบนหลักศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่หนึ่ง ที่เชื่อกันว่า พ่อขุนรามคำแหงมหาราช โปรดจารึกขึ้น ยังมีข้อความพิศดารปรากฏอยู่ด้วย กล่าวว่า มีพระขพุงผี เทพยดาในเขาอันนั้น(เขาหลวง)เป็นใหญ่กว่าทุกผีในเมืองนี้ ผิวไหว้บ่ดีพลีบ่ถูแ ผีในเขาอันนั้นบ่คุ้ม บ่เกรงเมืองนี้หาย กาลครั้งนั้น คงมีแต่ พระขพุงผี ผู้เป็นใหญ่เท่านั้น
บทเชิญขวัญแม่โพสพ โบราณาจารย์ท่านว่าไว้ดังนี้
     ศรี ศรี วันนี้เป็นวันเลิศลม ข้าขอเชิญขวัญแม่พระโพสพ ในนา จะเข้ามาอยู่ในยุ้งฉางวันนี้ ขวัญแม่อย่าหนีตื่นตกใจ เมื่อลมพัดสะบัดใบใม้ร่วงหล่น ขวัญแม่อย่าได้หนีจรดลเที่ยวหนี อย่าได้หลงกินนรีร่ายรำ ขวัญแม่อย่าได้ถลำในไพรพฤกษ์ แม้สัญจรอยู่ในห้วงลึกก็กลับมา ขวัญแม่อย่าได้หลงชมสิงสาราสัตว์ แม้ถูกเขี้ยวตระหวัดอย่าตกใจ แม้จะถูกไถคราด ถูกฟัดฟาดลงกลางดิน ถูกขบกินเป็นอาหารมวลมนุษย์ ขวัญแม่อย่าได้รุดหน่ายหนี จงอยู่เป็นศรีในยุ้งฉาง ขอเชิญแม่นางชมบายศรี ซึ่งมากมีทั้งคาวหวานสารพัด เจ้าของได้จัดมาสังเวยบวงสรวง ขอให้ลาภทั้งปวงเกษมสันต์ มีเงินทองอนันต์ยิ่งนัก มีความรักมั่นคงสถาพร พ้นจากความเดือดร้อนทั้งปวง ไม่มีอุปสรรคมาขัดขวางทางเดิน ขอให้มีแต่สรรเสริฐลาภยศ มีลูกปรากฏเกียรติขจร มีหมอนหนุนอุ่นใจไม่หน่ายหนี ทั้งพาชีโคกระบือมากมาย มีข้าทาสหญิงชายไว้ใช้สอย มีข้าวร้อยเกวียนเต็มยุ้งฉาง เป็นขุนนางปรากฏปรากฏยศลือชา มีลูกยาเสียแต่วันนี้ ท่านจะเป็นเศรษฐีมหาเศรษฐี ขอให้มีเมียสวยรวยทรัพย์ อย่าได้ยกอับหม่นหมองมีแก้วแหวนเงินทองเอนกอนันต์ มีสุขสันต์ทุกวันคืนด้วยเดชแห่งพระแม่โพสพ เป็นที่เคารพของปวงประชาได้อาศัยเลี้ยงชีวาไม่หิวโหย ได้กอบโกยซึ่งเงินทอง สิ่งใดที่คะนองทำล่วงเกิน เหมือนย่ำโดยบังเอิญไม่เจตนา ขอให้แม่โพสพอย่าได้โกรธหน้าบึ้ง ขอให้เป็นที่พึ่งของมวลมนุษย์สืบไปเทอญ ลั่นฆ้อง 3 ที โห่ร้องเอาชัย
     "แม่โพสพ" ตามสารานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน แปลว่า "เทวดาประจำพืชพันธุ์ธัญญาหารทั้งปวง" มวลมนุษยชาติเชื่อถือ และกราบไหว้บูชามาตั้งแต่ครั้งโบราณของชาวไทย ลาว และละแวกลุ่มลุ่มน้ำเจ้าพระยา บูชาเพื่อขอความอุดมสมบูรณ์ของพืชพันธุ์ธัญชาติ ที่เพาะปลูกตามฤดูกาล โดยจะทำพิธีบูชาแม่โพสพ ด้วยอาหาร มี ข้าวปากหม้อ กล้วย อ้อย เป็นต้น
     แม่โพสพเป็นสตรีเพศ ร่างงาม แต่งกายด้วยผ้าผ่อนแพรพรรณสมัยโบราณห่มสไบเฉียง นุ่งผ้าจีบชายกรอมลงมาถึงปลายหน้าแข้ง ทรงเครื่องถนิมพิมพาภรณ์ตระการตา ไว้ผมยาวสลวยประบ่า มีกระจังกรอบหน้า คล้ายมงกุฎ และจอนหูงอนชดช้อย มือข้างหนึ่งชูรวงข้าว ส่วนอีกข้างถือถุงโภคทรัพย์เต็มถุง ประทับนั่งพับเพียบ เรียบร้อย แบบแพนงเชิงอย่างไทยโบราณ
     คนผู้ใหญ่แต่เก่าก่อนนับถือแม่โพสพมาก มักกราบไหว้ท่านก่อนเปิบข้าวคำแรกเข้าปาก และสั่งสอนลุกหลานให้นั่งล้อมวงเปิบข้าวพร้อม ๆ กัน และต้องสำรวมกิริยามารยาทระหว่างเปิบข้าวให้เรียบร้อยอย่าให้มีเม็ดข้าวหายหกตกหล่น แม้ข้าวเหลือก้นจานสังกะสีก็ต้องกินให้หมด ห้ามเททิ้งลงถึงโสโครกให้เอาใส่ปากหม้อข้าวทับบนข้าวที่หุงมื้อต่อไป หรือไม่ก็ต้องนำไปผึ่งแดด ทำเป็นข้าวตากแห้งเอาไว้ เคยเห็นป่าย่ากินข้าวอิ่มหนำสำราญแล้ว ต้องยกมือไหว้เพื่อสำแดงความกตัญญูรู้บุญคุณข้าว จึงต้องขอบคุณท่าน เหล่าชาวนา เมื่อแรกทำนา จนกระทั่งถึงเวลาไถคราด เก็บเกี่ยวรวงข้าวด้วยเคียวเหล็ก ก็จะต้องประกอบพิธีเซ่นบูชาแม่โพสพทุกระยะไป เช่น ก่อนหน้าเวลาฤกษ์แรกนาจะปลูกศาลเพียงตา สูงระดับสายตาคนขึ้น ณ ที่ใดที่หนึ่ง ที่กำหนดไว้เป็นที่แรกนา ตระเตรียมเครื่องสังเวยบูชาแม่โพสพให้ครบถ้วน พร้อมทั้งกล่าวคำขวัญเป็นถ้อยคำไพเราะอ้อนวอนแม่โพสพให้คุ้มครองรักษาต้นข้าว ขอให้ปีนี้จงทำนาได้ผล ไม่ว่าจะเป็นนาหว่าน นาดำ เพราะแม่โพสพเป็นหญิงขวัญอ่อนง่าย ต้องทำพิธีเรียกขวัญเสมอ พอเริ่มลงมือไถพรวนดินทำนา ทอดกล้า ซึ่งต้องเอาข้าวแม่โพสพที่ไปเรียกเชิญเอามาจากนา เมื่อครั้งเก็บเกี่ยวปีผ่านมา นำเอามาปนพอเป็นกิริยา เพื่อให้ "ข้าวปลูก" มีเชื้อเป็นชีวิตจิตใจ ขอให้ลุล่วงขั้นตอนต่าง ๆ เพื่อแสดงว่าข้าวเริ่มต้นทำงานแล้ว ดังนี้ ถ้าเป็นนาดำใช้เมล็ดข้างเปลือกที่คัดเลือกไว้ทำพันธุ์แล้ว เก็บไม่นานเกิน 1 ปีไปแช่น้ำหนึ่งวันแล้วพรมน้ำ 1 วัน จนได้ข้าวแตกหน่อ แตกรากออกมา นำไปหว่านในแปลงนาที่เตรียมดินดีแล้ว รอจนเจริญเติบโต หย่อนรากลงดินแตกใบจึงถอน แล้วนำ "กล้าตั้งหน่อ" เหล่านี้ไปปักดำในที่ที่ตระเตรียมไว้อีกแห่ง กล้าตะแตกใบ ลำต้นค่อย ๆ ดต สูงขึ้นทุกทีพอ 7 วัน หลังจากปักดำในนาที่มีน้ำขังไว้ ยอกใบจะสุงจนเรียกว่า ข้าวถอดหางไก่ พอ 20 วัน ใบเก่าจะหลุดกลายเป็นข้าวแตกกอ ในระยะนี้แหละ ข้าวจะสูงขึ้นเป็นปล้อง เรียกว่า ข้าวแต่ง พอลำต้นเติบโตเต็มที่ ก็จะส่งยอดใบชูสลอนเรียกว่า ข้าวซดมาน ข้าวมา หรือ ข้าวท้อง ก็เริ่มตั้งแต่ท้องอ่อน ๆ จนถึงท้องแต่งตึง ท้องใหญ่ขึ้นทุกทีจยเริ่มโผล่ให้เห็นปลายรวง ข้าวที่รวงโผล่จากกายห่อมีลักษณะคล้ายคนยิงฟัน ก็เรียกว่า ข้าวยิงฟัน ชาวอีสานเรียกว่า ข้าวยิงแข่ว (ยิงฟัน) ครั้นพอข้าวโผล่รวงพ้นจากกาบห่อหมดสิ้นทั้งแปลงเรียกว่าข้าวสุ่ม ข้าวจะเริ่มมีน้ำนมจากเมล็ดที่ปลายสุดของรวงขข้าว พอรวงข้าวโตมีน้ำหนัก เพราะมีน้ำนมแต่งตึงมาก ทำให้ปลายรวงค้อมต่ำลง
     ขณะที่ข้าวทุกเมล็ดเต่งตึงเต็มที่ ก็เริ่มแข็งตัวเป็นข้าวสารอ่อน ๆ และต่อมาเปลือกเมล็ดเริ่มมีสีเหลืองทั่วท้องทุ่งจะมีสีเหลืองอร่ามดุจดัง "ทุ่งรวงทอง" วันที่ข้าวสารอ่อนก็คือ ข้าวเม่า ชาวนาเก็บเกี่ยวส่วนหนึ่งมาตำในครกกระเดื่องได้เป็น ข้าวเม่า นิ่ม ๆ นำไปถวายพระภิกษุสงฆ์ พร้อมกับกล้วยไข่สุก อุทิศส่วนกุศลให้ "ตากับยาย" บรรพบุรุษผู้เคยทำนามาก่อนถื่อว่าเป็นผู้ที่มีส่วนให้กำเนิดข้าว พอข้าวแต่ละเมล็ดบนต้นแข็งตัวเต็มที่ จะมีเปลือกสีเหลืองอร่าม ใบชั้นล่างเริ่มเหี่ยวพับลงทาบกับลำต้น ก็ถือว่า ข้าวสุก ดีแล้ว รอสักหนึ่งหรือสองสัปดาห์ก็เริ่มเกี่ยวข้าวหมดทั้งแปลงภายในวันเดียวกัน เมื่อผ่านการฝักข้าวแล้วก็จะได้ เมล็ดข้าวเปลือก นำไปสีที่โรงสีไฟ ก็ขัดผิวเปลือกภายนอกออกจนเหลือ ข้าวสาร สีขาวที่เรียกว่า ข้าวเจ้า ที่มีเมล็ดเรียวยาวงดงาม นับเป็นอาหารหลักของคนไทยทั้งชาติยกย่อง เป็นสุดยอดแห่งความโอชะ เปิบข้าวที่ไหนๆ ก็เอร็ดอร่อยสู้ข้าวไทยไม่ได้เลย

     กล่าวไว้ว่าพระพรหมทรงแบ่งภาคส่วนหนึ่งลงมาเป็นพระไพรศรพณ์ เหตุด้วยว่าเพราะตบะอันแก่กล้า เต็มไปด้วยบารมีถึงขั้นสูงสุดของ ประไลยโกฎิดาบส จึงทำให้อาสนะของพระพรหมเบื้องบนสวรรค์ถึงกับ ร้อนอาสน์ขึ้นมา ทันใดนั้นพระพรหมจึงทรงตรวจตราดูบนโลกมนุษย์ว่ามีเหตุใดให้พระองค์ช่วยเหลือ เหล่ามนุษย์ได้บ้าง และทรงมองเห็นพระดาบส นามประไลยโกฎิได้บำเพ็ญตบะด้วยความมุ่งมั่น แต่ต้องหิวโหยอดอยากเพราะ ขาดอาหารอยู่ในชายป่าริมแม่น้ำ
     เมื่อเป็นดังนั้นพระองค์จึงแบ่งภาคส่วนหนึ่งลงมาเป็นพระไพรศรพณ์ ได้เนรมิตบันดาลให้เกิดฝนตกทั่วบริเวณอาศรม ต่อมาเมื่อฝนซา พระดาบสได้พบกับเมล็ดข้าวสาลีโปรยทั่วบริเวณพื้นดิน และงอกเติบโตขึ้นเป็นรวงข้างสุกเหลืองอร่ามทั่วบริเวณอาศรมนั้น พระดาบสจึงได้เก็บเกี่ยว รวงข้าวมารับประทาน และได้นำไปแจกจ่ายให้แก่ชาวบ้าน บางส่วนให้เป็นอาหารของนกกาจิกกิน
     พระดาบสได้ดูแลรดน้ำต้นข้าวสาลีอย่างสม่ำเสมอ และได้แบ่งเมล็ดพันธ์ไปให้ชาวบ้านนำไปเพาะปลูกจนมีข้าวสาลีมากมายในหมู่บ้านใกล้ๆ และที่อยู่ห่างไกลออกไปบริเวณชายป่านั้น ทำให้ชาวบ้านพ้นจากความอดอยากดังเช่นอดีต
ประไลยโกฏิดาบส จึงบอกชาวบ้านเหล่านั้นให้บูชาบวงสรวงพระแม่ไพรศรพณ์ด้วยความเคารพนับถือ ที่พระแม่เป็นผู้มอบข้าวปลาอาหารให้แก่พวกตนและเหล่ามวลมนุษย์สืบต่อไปจนปัจจุบัน
     บางตำรากล่าวไว้ว่าชื่อของพระแม่โพสพนั้นมีอีกชื่อคือ พระไพรศรพณ์ เพราะพระแม่นั้นได้อวตาร คือมีภาคที่เป็นเทพบุตรทรงนามว่า พระไพรศรพณ์ ส่วนอีกภาคเป็นสตรี มีพระนามว่าพระแม่โพสพ
     คนไทยเราจะคุ้นเคยพระแม่องค์นี้ในชื่อ พระแม่โพสพ ซึ่งคนไทยโบราณเมื่อรับประทานข้าวเสร็จแล้วจะยกมือพนม เพื่อไหว้ขอบคุณพระแม่โพสพพระแม่แห่งอาหาร ซึ่งบันดาลให้มนุษย์มีความอิ่มท้องไม่อดอยาก มีสุขภาพที่สมบูรณ์
     ลักษณะทางศิลปะ ...พระแม่ไพรศรพณ์ เป็นสตรีมีใบหน้างดงามยิ่งนัก รัดเกล้าเพียงน้อยแล้วปล่อยสยายประดับด้วยอัญมณี และทองคำสีเหมือนรวงข้าวภาพหนึ่ง นั่งอยู่บนอาสน์ที่งดงามยิ่ง บางภาพประทับนั่งอยู่บนพาหนะซึ่งเป็นหงส์ พระหัตถ์ข้างหนึ่งถือพระขรรค์ ส่วนอีกพระหัตถ์ถือรวงข้าว

กำเนิดแม่โพสพ เจ้าแม่แห่งข้าว
     แม่โพสพ เป็นเมล็ดข้าวประเสริฐสุด เป็นเทพีกลางท้องทุ่งนา ผู้ทรงอานุภาพศักดาเรืองฤทธิ์ ช่วยชุบชีวิตมนุษย์ให้ยืนยาง มีน้ำม่นวลผิวพรรณผ่องใส ช่วยสำรองท้องให้อิ่มหมีพีมัน อีกทั้งเสริมเพิ่มพลังกายามีเรี่ยวมีแรงขมีขมัน แบกหามตรากตรำงานหนักได้ทุกวี่ทุกวัน ก็ด้วยเมล็ดข้าวแม่โพสพนี่แหละ แม่ผู้มีบุญคุญล้ำเลิศ สงเคราะห์ลูกผู้ทุกข์โศก มิต้องอนารร้อนใจ ตราบจนชั่วชีวิต
     โอม..แม่โพศรี แม่โพสพ แม่นพดารา แม่จันทร์เทวี แม่ศรีโสภาได้เลี้ยงลูกมา ใหญ่กล้าเพียงนี้ลูกขอบวงสรวงด้วยพวงมาลี ธูปเทียนอัคคี ตามมีบูชาลูกขอนี้ไซร้ ขอยกบุญคุณ แม่โพสพ ขึ้นนบนอบเหนือเศียร
ตำนานหนึ่งเล่าว่า มีฤาษีมหากระไลย์โกฏอยู่สันโษในอรัญ บำเพ็ญพรหมขันธุ์ในกุฏิ เพลาหนึ่งเกิดอสุนีฟ้าฟาด อากาศวิปริตโกลาหล ฟ้าฝนก็ตกลงมามิหยุดหย่อน มีเมล็ดข้าวปลิวว่อนกระจาย พอฟ้าฝนหายฤๅษีก็เห็นเป็นอัศจรรย์ จึงจัดสรรนำไปปลูกริมฝั่งนทีสระน้ำ ฝนชะตลอดมา จนข้าวกล้าแตกรวง
     กาลล่วงเข้าฤดูหนาว เมล็ดข้าวก็แก่จัด พระฤๅษีก็โสมนัสยิ่งนัก ครั้นจะนำมากินก็กริ่งเกรงจะเบื่อเมา อันตัวเราก็พึ่งพบคราวนี้ คราวหนึ่งสกุลณีสกุณามาเป็นหมู่ บินจู่โจมกินข้าวสาลี ฤๅษีเห็นดังนั้นพลันรู้ว่า หมู่ปักษามิได้ตายวายชีวิต ก็คิดว่าคงเป็นอาหารอันโอชารส พระดาบสจึงเก็บพันธุ์ข้าวไว้เพาะปลูกกระจายลูกหลานเหลน ได้เป็นอาหารของมนุษย์สุดประเสริฐ โดยกำเนิดขององค์ดาบส ตราบเท่าทุกวันนี้
     ในขณะที่ ตำนานเรื่องแม่โพสพ ฉบับชาวพัทลุง ได้บอกเล่าเรื่องราวอันน่าสนใจของ เจ้าแม่แห่งข้าว เอาไว้ดังนี้ กล่าวคือ นานมาแล้ว มีเทพธิดาองค์หนึ่ง เป็นเทพธิดาแห่งข้าว อาศัยอยู่บนสวรรค์ มีความประสงค์จะให้มวลหมู่มนุษย์ทั้งหลายนี้มีข้าวกิน จึงจำแลงกายลงมาบนโลก ในร่างของหญิงชรา อันนำพาห่อผ้ามาด้วย ซึ่งในห่อผ้านี้เอง มีเมล็ดพันธุ์ข้าวอยู่
     หญิงชราเดินไปในหมู่บ้าน มีแต่ผู้คนรังเกียจ จนไปพบกระท่อมเก่าๆ หลังหนึ่ง ซึ่งมีผัวเมียผู้ใจบุญ แต่ยากไร้ซึ่งเงินทอง อาศัยให้ที่พักพิง หญิงชราซึ้งในน้ำใจของผัวเมียคู่นี้ จึงมอบห่อผ้าที่มีเมล็ดข้าวอยู่ข้างในให้ โดยบอกให้เอาเมล็ดข้าวนี้ไปโปรยลงสู่พื้นดิน
     เมื่อเมล็ดข้าวได้รับน้ำ ก็เกิดความชุ่มชื่น เจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว ออกรวงแล้วก็สุก และนำมากินเป็นอาหารได้ หญิงชราจึงให้ผัวเมียเอาเมล็ดพันธุ์ข้าวนี้ไปแจกจ่ายให้แก่ชาวบ้านในหมู่บ้าน แล้วบอกว่า นี่คืออาหารที่ใช้กินต่อไปในภายภาคหน้า เมื่อพูดจบหญิงชราก็หายตัวไป
     ต่อจากนั้น เมื่อถึงเดือนหกฝนก็เริ่มตก ชาวนาจะแรกไถนา และทำพิธีอัญเชิญแม่โพสพลงมาเพื่อช่วยดูแลรักษาต้นข้าว ต้องมีพิธีเรียกขวัญข้าว การกระทำทุกอย่างนี้ เพื่อตอบแทนคุณ และบูชาแม่โพสพ ที่ให้ข้าวแก่มนุษย์กิน จวบจนปัจจุบัน

บทเชิญขวัญแม่โพสพ
     ทุกวันนี้ก็ยังคงมืดมน ไม่ทราบชัดว่าผู้ใดเริ่มรจนาเรื่องราววของแม่โพสพ อาจมีเค้ามาตั้งแต่กรุงสุโขทัยเป็นราชธานี เมื่อ 700 ปีก่อน ดังปรากฏสำนวนว่า "ในน้ำมีปลาในนามีข้าว" อยู่เป็นหลักฐานบนหลักศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่หนึ่ง ที่เชื่อกันว่า พ่อขุนรามคำแหงมหาราช โปรดจารึกขึ้น ยังมีข้อความพิศดารปรากฏอยู่ด้วย กล่าวว่า มีพระขพุงผี เทพยดาในเขาอันนั้น(เขาหลวง)เป็นใหญ่กว่าทุกผีในเมืองนี้ ผิวไหว้บ่ดีพลีบ่ถูแ ผีในเขาอันนั้นบ่คุ้ม บ่เกรงเมืองนี้หาย กาลครั้งนั้น คงมีแต่ พระขพุงผี ผู้เป็นใหญ่เท่านั้น
บทเชิญขวัญแม่โพสพ โบราณาจารย์ท่านว่าไว้ดังนี้
     ศรี ศรี วันนี้เป็นวันเลิศลม ข้าขอเชิญขวัญแม่พระโพสพ ในนา จะเข้ามาอยู่ในยุ้งฉางวันนี้ ขวัญแม่อย่าหนีตื่นตกใจ เมื่อลมพัดสะบัดใบใม้ร่วงหล่น ขวัญแม่อย่าได้หนีจรดลเที่ยวหนี อย่าได้หลงกินนรีร่ายรำ ขวัญแม่อย่าได้ถลำในไพรพฤกษ์ แม้สัญจรอยู่ในห้วงลึกก็กลับมา ขวัญแม่อย่าได้หลงชมสิงสาราสัตว์ แม้ถูกเขี้ยวตระหวัดอย่าตกใจ แม้จะถูกไถคราด ถูกฟัดฟาดลงกลางดิน ถูกขบกินเป็นอาหารมวลมนุษย์ ขวัญแม่อย่าได้รุดหน่ายหนี จงอยู่เป็นศรีในยุ้งฉาง ขอเชิญแม่นางชมบายศรี ซึ่งมากมีทั้งคาวหวานสารพัด เจ้าของได้จัดมาสังเวยบวงสรวง ขอให้ลาภทั้งปวงเกษมสันต์ มีเงินทองอนันต์ยิ่งนัก มีความรักมั่นคงสถาพร พ้นจากความเดือดร้อนทั้งปวง ไม่มีอุปสรรคมาขัดขวางทางเดิน ขอให้มีแต่สรรเสริฐลาภยศ มีลูกปรากฏเกียรติขจร มีหมอนหนุนอุ่นใจไม่หน่ายหนี ทั้งพาชีโคกระบือมากมาย มีข้าทาสหญิงชายไว้ใช้สอย มีข้าวร้อยเกวียนเต็มยุ้งฉาง เป็นขุนนางปรากฏปรากฏยศลือชา มีลูกยาเสียแต่วันนี้ ท่านจะเป็นเศรษฐีมหาเศรษฐี ขอให้มีเมียสวยรวยทรัพย์ อย่าได้ยกอับหม่นหมองมีแก้วแหวนเงินทองเอนกอนันต์ มีสุขสันต์ทุกวันคืนด้วยเดชแห่งพระแม่โพสพ เป็นที่เคารพของปวงประชาได้อาศัยเลี้ยงชีวาไม่หิวโหย ได้กอบโกยซึ่งเงินทอง สิ่งใดที่คะนองทำล่วงเกิน เหมือนย่ำโดยบังเอิญไม่เจตนา ขอให้แม่โพสพอย่าได้โกรธหน้าบึ้ง ขอให้เป็นที่พึ่งของมวลมนุษย์สืบไปเทอญ ลั่นฆ้อง 3 ที โห่ร้องเอาชัย
     "แม่โพสพ" ตามสารานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน แปลว่า "เทวดาประจำพืชพันธุ์ธัญญาหารทั้งปวง" มวลมนุษยชาติเชื่อถือ และกราบไหว้บูชามาตั้งแต่ครั้งโบราณของชาวไทย ลาว และละแวกลุ่มลุ่มน้ำเจ้าพระยา บูชาเพื่อขอความอุดมสมบูรณ์ของพืชพันธุ์ธัญชาติ ที่เพาะปลูกตามฤดูกาล โดยจะทำพิธีบูชาแม่โพสพ ด้วยอาหาร มี ข้าวปากหม้อ กล้วย อ้อย เป็นต้น
     แม่โพสพเป็นสตรีเพศ ร่างงาม แต่งกายด้วยผ้าผ่อนแพรพรรณสมัยโบราณห่มสไบเฉียง นุ่งผ้าจีบชายกรอมลงมาถึงปลายหน้าแข้ง ทรงเครื่องถนิมพิมพาภรณ์ตระการตา ไว้ผมยาวสลวยประบ่า มีกระจังกรอบหน้า คล้ายมงกุฎ และจอนหูงอนชดช้อย มือข้างหนึ่งชูรวงข้าว ส่วนอีกข้างถือถุงโภคทรัพย์เต็มถุง ประทับนั่งพับเพียบ เรียบร้อย แบบแพนงเชิงอย่างไทยโบราณ
     คนผู้ใหญ่แต่เก่าก่อนนับถือแม่โพสพมาก มักกราบไหว้ท่านก่อนเปิบข้าวคำแรกเข้าปาก และสั่งสอนลุกหลานให้นั่งล้อมวงเปิบข้าวพร้อม ๆ กัน และต้องสำรวมกิริยามารยาทระหว่างเปิบข้าวให้เรียบร้อยอย่าให้มีเม็ดข้าวหายหกตกหล่น แม้ข้าวเหลือก้นจานสังกะสีก็ต้องกินให้หมด ห้ามเททิ้งลงถึงโสโครกให้เอาใส่ปากหม้อข้าวทับบนข้าวที่หุงมื้อต่อไป หรือไม่ก็ต้องนำไปผึ่งแดด ทำเป็นข้าวตากแห้งเอาไว้ เคยเห็นป่าย่ากินข้าวอิ่มหนำสำราญแล้ว ต้องยกมือไหว้เพื่อสำแดงความกตัญญูรู้บุญคุณข้าว จึงต้องขอบคุณท่าน เหล่าชาวนา เมื่อแรกทำนา จนกระทั่งถึงเวลาไถคราด เก็บเกี่ยวรวงข้าวด้วยเคียวเหล็ก ก็จะต้องประกอบพิธีเซ่นบูชาแม่โพสพทุกระยะไป เช่น ก่อนหน้าเวลาฤกษ์แรกนาจะปลูกศาลเพียงตา สูงระดับสายตาคนขึ้น ณ ที่ใดที่หนึ่ง ที่กำหนดไว้เป็นที่แรกนา ตระเตรียมเครื่องสังเวยบูชาแม่โพสพให้ครบถ้วน พร้อมทั้งกล่าวคำขวัญเป็นถ้อยคำไพเราะอ้อนวอนแม่โพสพให้คุ้มครองรักษาต้นข้าว ขอให้ปีนี้จงทำนาได้ผล ไม่ว่าจะเป็นนาหว่าน นาดำ เพราะแม่โพสพเป็นหญิงขวัญอ่อนง่าย ต้องทำพิธีเรียกขวัญเสมอ พอเริ่มลงมือไถพรวนดินทำนา ทอดกล้า ซึ่งต้องเอาข้าวแม่โพสพที่ไปเรียกเชิญเอามาจากนา เมื่อครั้งเก็บเกี่ยวปีผ่านมา นำเอามาปนพอเป็นกิริยา เพื่อให้ "ข้าวปลูก" มีเชื้อเป็นชีวิตจิตใจ ขอให้ลุล่วงขั้นตอนต่าง ๆ เพื่อแสดงว่าข้าวเริ่มต้นทำงานแล้ว ดังนี้ ถ้าเป็นนาดำใช้เมล็ดข้างเปลือกที่คัดเลือกไว้ทำพันธุ์แล้ว เก็บไม่นานเกิน 1 ปีไปแช่น้ำหนึ่งวันแล้วพรมน้ำ 1 วัน จนได้ข้าวแตกหน่อ แตกรากออกมา นำไปหว่านในแปลงนาที่เตรียมดินดีแล้ว รอจนเจริญเติบโต หย่อนรากลงดินแตกใบจึงถอน แล้วนำ "กล้าตั้งหน่อ" เหล่านี้ไปปักดำในที่ที่ตระเตรียมไว้อีกแห่ง กล้าตะแตกใบ ลำต้นค่อย ๆ ดต สูงขึ้นทุกทีพอ 7 วัน หลังจากปักดำในนาที่มีน้ำขังไว้ ยอกใบจะสุงจนเรียกว่า ข้าวถอดหางไก่ พอ 20 วัน ใบเก่าจะหลุดกลายเป็นข้าวแตกกอ ในระยะนี้แหละ ข้าวจะสูงขึ้นเป็นปล้อง เรียกว่า ข้าวแต่ง พอลำต้นเติบโตเต็มที่ ก็จะส่งยอดใบชูสลอนเรียกว่า ข้าวซดมาน ข้าวมา หรือ ข้าวท้อง ก็เริ่มตั้งแต่ท้องอ่อน ๆ จนถึงท้องแต่งตึง ท้องใหญ่ขึ้นทุกทีจยเริ่มโผล่ให้เห็นปลายรวง ข้าวที่รวงโผล่จากกายห่อมีลักษณะคล้ายคนยิงฟัน ก็เรียกว่า ข้าวยิงฟัน ชาวอีสานเรียกว่า ข้าวยิงแข่ว (ยิงฟัน) ครั้นพอข้าวโผล่รวงพ้นจากกาบห่อหมดสิ้นทั้งแปลงเรียกว่าข้าวสุ่ม ข้าวจะเริ่มมีน้ำนมจากเมล็ดที่ปลายสุดของรวงขข้าว พอรวงข้าวโตมีน้ำหนัก เพราะมีน้ำนมแต่งตึงมาก ทำให้ปลายรวงค้อมต่ำลง
     ขณะที่ข้าวทุกเมล็ดเต่งตึงเต็มที่ ก็เริ่มแข็งตัวเป็นข้าวสารอ่อน ๆ และต่อมาเปลือกเมล็ดเริ่มมีสีเหลืองทั่วท้องทุ่งจะมีสีเหลืองอร่ามดุจดัง "ทุ่งรวงทอง" วันที่ข้าวสารอ่อนก็คือ ข้าวเม่า ชาวนาเก็บเกี่ยวส่วนหนึ่งมาตำในครกกระเดื่องได้เป็น ข้าวเม่า นิ่ม ๆ นำไปถวายพระภิกษุสงฆ์ พร้อมกับกล้วยไข่สุก อุทิศส่วนกุศลให้ "ตากับยาย" บรรพบุรุษผู้เคยทำนามาก่อนถื่อว่าเป็นผู้ที่มีส่วนให้กำเนิดข้าว พอข้าวแต่ละเมล็ดบนต้นแข็งตัวเต็มที่ จะมีเปลือกสีเหลืองอร่าม ใบชั้นล่างเริ่มเหี่ยวพับลงทาบกับลำต้น ก็ถือว่า ข้าวสุก ดีแล้ว รอสักหนึ่งหรือสองสัปดาห์ก็เริ่มเกี่ยวข้าวหมดทั้งแปลงภายในวันเดียวกัน เมื่อผ่านการฝักข้าวแล้วก็จะได้ เมล็ดข้าวเปลือก นำไปสีที่โรงสีไฟ ก็ขัดผิวเปลือกภายนอกออกจนเหลือ ข้าวสาร สีขาวที่เรียกว่า ข้าวเจ้า ที่มีเมล็ดเรียวยาวงดงาม นับเป็นอาหารหลักของคนไทยทั้งชาติยกย่อง เป็นสุดยอดแห่งความโอชะ เปิบข้าวที่ไหนๆ ก็เอร็ดอร่อยสู้ข้าวไทยไม่ได้เลย

     กล่าวไว้ว่าพระพรหมทรงแบ่งภาคส่วนหนึ่งลงมาเป็นพระไพรศรพณ์ เหตุด้วยว่าเพราะตบะอันแก่กล้า เต็มไปด้วยบารมีถึงขั้นสูงสุดของ ประไลยโกฎิดาบส จึงทำให้อาสนะของพระพรหมเบื้องบนสวรรค์ถึงกับ ร้อนอาสน์ขึ้นมา ทันใดนั้นพระพรหมจึงทรงตรวจตราดูบนโลกมนุษย์ว่ามีเหตุใดให้พระองค์ช่วยเหลือ เหล่ามนุษย์ได้บ้าง และทรงมองเห็นพระดาบส นามประไลยโกฎิได้บำเพ็ญตบะด้วยความมุ่งมั่น แต่ต้องหิวโหยอดอยากเพราะ ขาดอาหารอยู่ในชายป่าริมแม่น้ำ
     เมื่อเป็นดังนั้นพระองค์จึงแบ่งภาคส่วนหนึ่งลงมาเป็นพระไพรศรพณ์ ได้เนรมิตบันดาลให้เกิดฝนตกทั่วบริเวณอาศรม ต่อมาเมื่อฝนซา พระดาบสได้พบกับเมล็ดข้าวสาลีโปรยทั่วบริเวณพื้นดิน และงอกเติบโตขึ้นเป็นรวงข้างสุกเหลืองอร่ามทั่วบริเวณอาศรมนั้น พระดาบสจึงได้เก็บเกี่ยว รวงข้าวมารับประทาน และได้นำไปแจกจ่ายให้แก่ชาวบ้าน บางส่วนให้เป็นอาหารของนกกาจิกกิน
     พระดาบสได้ดูแลรดน้ำต้นข้าวสาลีอย่างสม่ำเสมอ และได้แบ่งเมล็ดพันธ์ไปให้ชาวบ้านนำไปเพาะปลูกจนมีข้าวสาลีมากมายในหมู่บ้านใกล้ๆ และที่อยู่ห่างไกลออกไปบริเวณชายป่านั้น ทำให้ชาวบ้านพ้นจากความอดอยากดังเช่นอดีต
ประไลยโกฏิดาบส จึงบอกชาวบ้านเหล่านั้นให้บูชาบวงสรวงพระแม่ไพรศรพณ์ด้วยความเคารพนับถือ ที่พระแม่เป็นผู้มอบข้าวปลาอาหารให้แก่พวกตนและเหล่ามวลมนุษย์สืบต่อไปจนปัจจุบัน
     บางตำรากล่าวไว้ว่าชื่อของพระแม่โพสพนั้นมีอีกชื่อคือ พระไพรศรพณ์ เพราะพระแม่นั้นได้อวตาร คือมีภาคที่เป็นเทพบุตรทรงนามว่า พระไพรศรพณ์ ส่วนอีกภาคเป็นสตรี มีพระนามว่าพระแม่โพสพ
     คนไทยเราจะคุ้นเคยพระแม่องค์นี้ในชื่อ พระแม่โพสพ ซึ่งคนไทยโบราณเมื่อรับประทานข้าวเสร็จแล้วจะยกมือพนม เพื่อไหว้ขอบคุณพระแม่โพสพพระแม่แห่งอาหาร ซึ่งบันดาลให้มนุษย์มีความอิ่มท้องไม่อดอยาก มีสุขภาพที่สมบูรณ์
     ลักษณะทางศิลปะ ...พระแม่ไพรศรพณ์ เป็นสตรีมีใบหน้างดงามยิ่งนัก รัดเกล้าเพียงน้อยแล้วปล่อยสยายประดับด้วยอัญมณี และทองคำสีเหมือนรวงข้าวภาพหนึ่ง นั่งอยู่บนอาสน์ที่งดงามยิ่ง บางภาพประทับนั่งอยู่บนพาหนะซึ่งเป็นหงส์ พระหัตถ์ข้างหนึ่งถือพระขรรค์ ส่วนอีกพระหัตถ์ถือรวงข้าว

กำเนิดแม่โพสพ เจ้าแม่แห่งข้าว
     แม่โพสพ เป็นเมล็ดข้าวประเสริฐสุด เป็นเทพีกลางท้องทุ่งนา ผู้ทรงอานุภาพศักดาเรืองฤทธิ์ ช่วยชุบชีวิตมนุษย์ให้ยืนยาง มีน้ำม่นวลผิวพรรณผ่องใส ช่วยสำรองท้องให้อิ่มหมีพีมัน อีกทั้งเสริมเพิ่มพลังกายามีเรี่ยวมีแรงขมีขมัน แบกหามตรากตรำงานหนักได้ทุกวี่ทุกวัน ก็ด้วยเมล็ดข้าวแม่โพสพนี่แหละ แม่ผู้มีบุญคุญล้ำเลิศ สงเคราะห์ลูกผู้ทุกข์โศก มิต้องอนารร้อนใจ ตราบจนชั่วชีวิต
     โอม..แม่โพศรี แม่โพสพ แม่นพดารา แม่จันทร์เทวี แม่ศรีโสภาได้เลี้ยงลูกมา ใหญ่กล้าเพียงนี้ลูกขอบวงสรวงด้วยพวงมาลี ธูปเทียนอัคคี ตามมีบูชาลูกขอนี้ไซร้ ขอยกบุญคุณ แม่โพสพ ขึ้นนบนอบเหนือเศียร
ตำนานหนึ่งเล่าว่า มีฤาษีมหากระไลย์โกฏอยู่สันโษในอรัญ บำเพ็ญพรหมขันธุ์ในกุฏิ เพลาหนึ่งเกิดอสุนีฟ้าฟาด อากาศวิปริตโกลาหล ฟ้าฝนก็ตกลงมามิหยุดหย่อน มีเมล็ดข้าวปลิวว่อนกระจาย พอฟ้าฝนหายฤๅษีก็เห็นเป็นอัศจรรย์ จึงจัดสรรนำไปปลูกริมฝั่งนทีสระน้ำ ฝนชะตลอดมา จนข้าวกล้าแตกรวง
     กาลล่วงเข้าฤดูหนาว เมล็ดข้าวก็แก่จัด พระฤๅษีก็โสมนัสยิ่งนัก ครั้นจะนำมากินก็กริ่งเกรงจะเบื่อเมา อันตัวเราก็พึ่งพบคราวนี้ คราวหนึ่งสกุลณีสกุณามาเป็นหมู่ บินจู่โจมกินข้าวสาลี ฤๅษีเห็นดังนั้นพลันรู้ว่า หมู่ปักษามิได้ตายวายชีวิต ก็คิดว่าคงเป็นอาหารอันโอชารส พระดาบสจึงเก็บพันธุ์ข้าวไว้เพาะปลูกกระจายลูกหลานเหลน ได้เป็นอาหารของมนุษย์สุดประเสริฐ โดยกำเนิดขององค์ดาบส ตราบเท่า

 
ราคาเปิดประมูล :
 100 บาท
ราคาสูงสุด ขณะนี้ :
 100 บาท
ราคาที่ต้องเพิ่มขึ้น ขั้นต่ำ :
 100 บาท

เงื่อนไขการรับประกัน :
 รับประกันพระแท้ 5 วัน นับแต่วัน ที่ท่านได้รับสินค้าทางไปรษณีย์

ผู้ตั้งประมูล :
 chondan jamroon
ที่อยู่ :
 170 หมู่ที่ 2 ต.บ้านกาศ อ.สูงเม่น จ.แพร่ 54130 ประเทศไทย

เบอร์โทรติดต่อ :
  0860458348, 0860458348
E-mail :
 chon_dan@windowslive.com

ชื่อบัญชี :
 นายชนแดน จำรูญ
เลขที่ บัญชี :
 1164372599
ประเภท บัญชี :
 ออมทรัพย์
ธนาคาร :
 ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
สาขา :
 บางลำพู

วันที่ :
 Wed 10, Jul 2013 14:13:17
โดย : chondan    [Feedback +10 -0] [+5 -0]   Wed 10, Jul 2013 14:13:17
 
 
ประมูล เจ้าแม่โพสพ พระอาจารย์ไพบูลย์ วัดอนาลโย ปี 35 สร้าง สภาพเดิมๆ : พระล้านนา.คอม เว็บ พระเครื่อง พระบูชา อันดับหนึ่ง ของภาคเหนือ ออกแบบเว็บไซต์โดย 2WinWeb design บริการรับทำเว็บไซต์
Copyright Pralanna.com All right reserved. © สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมายโดย บริษัท พระล้านนาดอทคอม จำกัด.