พระล้านนาดอทคอม แหล่งรวมพระเครื่องเมืองเหนือ
พระทั่วไปภาคเหนือ

เหรียญพระเจ้าตนหลวงอัลปาก้าพะเยาแขวนเดี่ยวเที่ยวลุยได้ทุกทิศ

(ปิดการประมูลแล้ว)

เหรียญพระเจ้าตนหลวงอัลปาก้าพะเยาแขวนเดี่ยวเที่ยวลุยได้ทุกทิศ


เหรียญพระเจ้าตนหลวงอัลปาก้าพะเยาแขวนเดี่ยวเที่ยวลุยได้ทุกทิศ

ชื่อพระ :
 เหรียญพระเจ้าตนหลวงอัลปาก้าพะเยาแขวนเดี่ยวเที่ยวลุยได้ทุกทิศ
รายละเอียด :
 
:
 "วัดศรีโคมคำ"เป็นวัดคู่บ้านคู่เมืองพะเยา เป็นพระอารามหลวงชั้นตรีและวัดพัฒนาตัวอย่าง ชาวเมืองพะเยาทั่วไปนิยมเรียกว่า "วัดพระเจ้าตนหลวง" ซึ่งเป็นที่ประดิษฐาน "พระเจ้าตนหลวง" สร้างขึ้นระหว่างปี พ.ศ. 2034-2067 พระเจ้าตนหลวง เป็นองค์พระประธานเก่าแก่ ศิลปะเชียงแสนที่ใหญ่ที่สุดในล้านนา ขนาดหน้าตักกว้าง 14 เมตร สูง 16 เมตร สร้างจากอิฐมอญผสมกับปูนขาว ชาวพะเยาถือเป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมือง เดือนหกทุกปีจะมีงานนมัสการพระเจ้าตนหลวง ตามตำนาน พระเจ้าตนหลวงสร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ.2034 โดยอยู่ในความอุปถัมภ์ของพระเมืองแก้ว เจ้าผู้ครองเมืองเชียงใหม่ และพระยาเมืองตู้ เจ้าผู้ครองเมืองพะเยาในสมัยนั้น เจ้าอาวาสรูปแรกที่ปรากฏในตำนาน คือ พระธรรมปาล ได้เขียนตำนานพระเจ้าตนหลวงออกเผยแพร่ มี สมุดข่อยบันทึกว่า วัดศรีโคมคำ เป็นวัดมาแต่โบราณกาล แต่ยุคหลัง บ้านเมืองตกอยู่ในสงคราม ต้องอพยพโยกย้ายไปอยู่ตามหัวเมืองที่ปลอดภัยจากข้าศึก ทำให้บ้านเมือง วัดวาอารามรกร้างว่างเปล่าไป ต่อมาภายหลังได้สถาปนาเมืองพะเยาขึ้น บ้านเมืองก็ดี วัดวาอารามก็ดี ก็ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ตามลำดับ พ.ศ.2465 พระครูศรีวิราชวชิรปัญญา เจ้าคณะแขวงเมืองพะเยา เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ ทางฝ่ายบ้านเมืองคือ พระยาประเทศอุดรทิศ เจ้าผู้ครองเมืองพะเยา ร่วมกันไปอาราธนาท่านครูบาศรีวิชัยจากจังหวัดลำพูน มาเป็นประธานสร้างพระวิหารหลวงและเสนาสนะต่างๆ สำเร็จบริบูรณ์ กระทั่งวันที่ 17 เมษายน 2523 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานยกฐานะขึ้นเป็นพระอารามหลวง นอกจาก นี้ ยังมีพระอุโบสถกลางน้ำ เป็นศิลปะแบบล้านนาประยุกต์ สร้างขึ้นโดยศรัทธาประชาชน มี "นิยม สิทธหาญ" มัณฑนากรจากมหาวิทยาลัยศิลปากร และ "จินดา สหสมร" สถาปนิกจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยร่วมกันออกแบบ และมีภาพจิตรกรรมฝาผนัง โดย "อังคาร กัลยาณพงศ์" และ "ภาพตะวัน สุวรรณกูฏ" ชะตา พระเจ้าตนหลวงตามตำนาน กล่าวได้ว่า "พระโมลีใหญ่ 20 กำมือ สูง 3 ศอก พระเศียรกลม 6 วา พระเกศามี 1,500 เส้น ขนาดใหญ่ 4 กำมือ ขนาดกลาง 3 กำมือ ขนาดเล็ก 2 กำมือ ขนาดจิ๋ว 1 กำมือ พระพักตร์หน้ายาว 2 วา กว้าง 2 วา พระขนง (คิ้ว) 3 ศอก ระหว่างพระขนงกว้าง 1 ศอก ยาว 3 ศอก กว้าง 1 คืบ ดั้งพระนาสิก 3 ศอก 1 คืบ ใหญ่ 6 กำมือ พระโอษฐ์ (ปาก) ยาว 4 ศอก กว้าง 1 คืบ ใหญ่ 6 กำมือ พระกรรณ (หู) ยาว 6 ศอก กว้างศอกคืบ พระศอ ยาว 2 ศอก กลม 3 วา พระอังสา(บ่า) ยาว 3 คืบ กระดูกด้ามมีดยาว 4 วา ตั้งแต่พระอุระ(อก)ถึงพระชานุ(คาง) 2 วา ตั้งแต่พระถัน(นม)ถึงพระอังสา(ไหล่) 2 วา ตั้งแต่พระนาภี(สะดือ)ถึงพระอุระ(อก) 2 วา ระหว่างพระอุระ(อก)กว้าง 2 วา พระ พาหา (แขน) ยาว 4 วา กลม 29 กำมือ นิ้วพระหัตถ์ใหญ่ 9 กำมือ ยาว 1 วา พระกฏิ(สะเอว)กลม 7 วา ฝ่าพระบาท ยาว 2 วา กว้าง 3 ศอก ระหว่างพระชานุกว้าง 7 วา พระหทัยใหญ่ 6 กำมือ ตั้งแต่ที่ประทับนั่งถึงพระโมลี สูง 8 วา 2 ศอก" พระเจ้าตนหลวง หรือ พระเจ้าองค์หลวง มิใช่เป็นแต่เพียงพระพุทธรูปคู่เมืองพะเยาเท่านั้น แต่ถือเป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองอาณาจักรล้านนาไทยด้วย ในช่วง เดือนหก ประมาณพฤษภาคม ตรงกับวันวิสาขบูชา จะมีงานนมัสการพระเจ้าตนหลวง หรือเทศกาล "แปดเป็ง" จะมีประชาชนในจังหวัดพะเยาและจังหวัดใกล้เคียงมาร่วมงานเป็นจำนวนมาก เนื่อง จากการก่อสร้างพระเจ้าตนหลวง เมื่อครั้งสมัยที่ยุคทองทางพระพุทธศาสนาของล้
:
 "วัดศรีโคมคำ"เป็นวัดคู่บ้านคู่เมืองพะเยา เป็นพระอารามหลวงชั้นตรีและวัดพัฒนาตัวอย่าง ชาวเมืองพะเยาทั่วไปนิยมเรียกว่า "วัดพระเจ้าตนหลวง" ซึ่งเป็นที่ประดิษฐาน "พระเจ้าตนหลวง" สร้างขึ้นระหว่างปี พ.ศ. 2034-2067 พระเจ้าตนหลวง เป็นองค์พระประธานเก่าแก่ ศิลปะเชียงแสนที่ใหญ่ที่สุดในล้านนา ขนาดหน้าตักกว้าง 14 เมตร สูง 16 เมตร สร้างจากอิฐมอญผสมกับปูนขาว ชาวพะเยาถือเป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมือง เดือนหกทุกปีจะมีงานนมัสการพระเจ้าตนหลวง ตามตำนาน พระเจ้าตนหลวงสร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ.2034 โดยอยู่ในความอุปถัมภ์ของพระเมืองแก้ว เจ้าผู้ครองเมืองเชียงใหม่ และพระยาเมืองตู้ เจ้าผู้ครองเมืองพะเยาในสมัยนั้น เจ้าอาวาสรูปแรกที่ปรากฏในตำนาน คือ พระธรรมปาล ได้เขียนตำนานพระเจ้าตนหลวงออกเผยแพร่ มี สมุดข่อยบันทึกว่า วัดศรีโคมคำ เป็นวัดมาแต่โบราณกาล แต่ยุคหลัง บ้านเมืองตกอยู่ในสงคราม ต้องอพยพโยกย้ายไปอยู่ตามหัวเมืองที่ปลอดภัยจากข้าศึก ทำให้บ้านเมือง วัดวาอารามรกร้างว่างเปล่าไป ต่อมาภายหลังได้สถาปนาเมืองพะเยาขึ้น บ้านเมืองก็ดี วัดวาอารามก็ดี ก็ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ตามลำดับ พ.ศ.2465 พระครูศรีวิราชวชิรปัญญา เจ้าคณะแขวงเมืองพะเยา เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ ทางฝ่ายบ้านเมืองคือ พระยาประเทศอุดรทิศ เจ้าผู้ครองเมืองพะเยา ร่วมกันไปอาราธนาท่านครูบาศรีวิชัยจากจังหวัดลำพูน มาเป็นประธานสร้างพระวิหารหลวงและเสนาสนะต่างๆ สำเร็จบริบูรณ์ กระทั่งวันที่ 17 เมษายน 2523 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานยกฐานะขึ้นเป็นพระอารามหลวง นอกจาก นี้ ยังมีพระอุโบสถกลางน้ำ เป็นศิลปะแบบล้านนาประยุกต์ สร้างขึ้นโดยศรัทธาประชาชน มี "นิยม สิทธหาญ" มัณฑนากรจากมหาวิทยาลัยศิลปากร และ "จินดา สหสมร" สถาปนิกจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยร่วมกันออกแบบ และมีภาพจิตรกรรมฝาผนัง โดย "อังคาร กั
:
 "วัดศรีโคมคำ"เป็นวัดคู่บ้านคู่เมืองพะเยา เป็นพระอารามหลวงชั้นตรีและวัดพัฒนาตัวอย่าง ชาวเมืองพะเยาทั่วไปนิยมเรียกว่า "วัดพระเจ้าตนหลวง" ซึ่งเป็นที่ประดิษฐาน "พระเจ้าตนหลวง" สร้างขึ้นระหว่างปี พ.ศ. 2034-2067 พระเจ้าตนหลวง เป็นองค์พระประธานเก่าแก่ ศิลปะเชียงแสนที่ใหญ่ที่สุดในล้านนา ขนาดหน้าตักกว้าง 14 เมตร สูง 16 เมตร สร้างจากอิฐมอญผสมกับปูนขาว ชาวพะเยาถือเป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมือง เดือนหกทุกปีจะมีงานนมัสการพระเจ้าตนหลวง ตามตำนาน พระเจ้าตนหลวงสร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ.2034 โดยอยู่ในความอุปถัมภ์ของพระเมืองแก้ว เจ้าผู้ครองเมืองเชียงใหม่ และพระยาเมืองตู้ เจ้าผู้ครองเมืองพะเยาในสมัยนั้น เจ้าอาวาสรูปแรกที่ปรากฏในตำนาน คือ พระธรรมปาล ได้เขียนตำนานพระเจ้าตนหลวงออกเผยแพร่ มี สมุดข่อยบันทึกว่า วัดศรีโคมคำ เป็นวัดมาแต่โบราณกาล แต่ยุคหลัง บ้านเมืองตกอยู่ในสงคราม ต้องอพยพโยกย้ายไปอยู่ตามหัวเมืองที่ปลอดภัยจากข้าศึก ทำให้บ้านเมือง วัดวาอารามรกร้างว่างเปล่าไป ต่อมาภายหลังได้สถาปนาเมืองพะเยาขึ้น บ้านเมืองก็ดี วัดวาอารามก็ดี ก็ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ตามลำดับ พ.ศ.2465 พระครูศรีวิราชวชิรปัญญา เจ้าคณะแขวงเมืองพะเยา เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ ทางฝ่ายบ้านเมืองคือ พระยาประเทศอุดรทิศ เจ้าผู้ครองเมืองพะเยา ร่วมกันไปอาราธนาท่านครูบาศรีวิชัยจากจังหวัดลำพูน มาเป็นประธานสร้างพระวิหารหลวงและเสนาสนะต่างๆ สำเร็จบริบูรณ์ กระทั่งวันที่ 17 เมษายน 2523 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานยกฐานะขึ้นเป็นพระอารามหลวง นอกจาก นี้ ยังมีพระอุโบสถกลางน้ำ เป็นศิลปะแบบล้านนาประยุกต์ สร้างขึ้นโดยศรัทธาประชาชน มี "นิยม สิทธหาญ" มัณฑนากรจากมหาวิทยาลัยศิลปากร และ "จินดา สหสมร" สถาปนิกจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยร่วมกันออกแบบ และมีภาพจิตรกรรมฝาผนัง โดย "อังคาร กัลยาณพงศ์" และ "ภาพตะวัน สุวรรณกูฏ" ชะตา พระเจ้าตนหลวงตามตำนาน กล่าวได้ว่า "พระโมลีใหญ่ 20 กำมือ สูง 3 ศอก พระเศียรกลม 6 วา พระเกศามี 1,500 เส้น ขนาดใหญ่ 4 กำมือ ขนาดกลาง 3 กำมือ ขนาดเล็ก 2 กำมือ ขนาดจิ๋ว 1 กำมือ พระพักตร์หน้ายาว 2 วา กว้าง 2 วา พระขนง (คิ้ว) 3 ศอก ระหว่างพระขนงกว้าง 1 ศอก ยาว 3 ศอก กว้าง 1 คืบ ดั้งพระนาสิก 3 ศอก 1 คืบ ใหญ่ 6 กำมือ พระโอษฐ์ (ปาก) ยาว 4 ศอก กว้าง 1 คืบ ใหญ่ 6 กำมือ พระกรรณ (หู) ยาว 6 ศอก กว้างศอกคืบ พระศอ ยาว 2 ศอก กลม 3 วา พระอังสา(บ่า) ยาว 3 คืบ กระดูกด้ามมีดยาว 4 วา ตั้งแต่พระอุระ(อก)ถึงพระชานุ(คาง) 2 วา ตั้งแต่พระถัน(นม)ถึงพระอังสา(ไหล่) 2 วา ตั้งแต่พระนาภี(สะดือ)ถึงพระอุระ(อก) 2 วา ระหว่างพระอุระ(อก)กว้าง 2 วา พระ พาหา (แขน) ยาว 4 วา กลม 29 กำมือ นิ้วพระหัตถ์ใหญ่ 9 กำมือ ยาว 1 วา พระกฏิ(สะเอว)กลม 7 วา ฝ่าพระบาท ยาว 2 วา กว้าง 3 ศอก ระหว่างพระชานุกว้าง 7 วา พระหทัยใหญ่ 6 กำมือ ตั้งแต่ที่ประทับนั่งถึงพระโมลี สูง 8 วา 2 ศอก" พระเจ้าตนหลวง หรือ พระเจ้าองค์หลวง มิใช่เป็นแต่เพียงพระพุทธรูปคู่เมืองพะเยาเท่านั้น แต่ถือเป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองอาณาจักรล้านนาไทยด้วย ในช่วง เดือนหก ประมาณพฤษภาคม ตรงกับวันวิสาขบูชา จะมีงานนมัสการพระเจ้าตนหลวง หรือเทศกาล "แปดเป็ง" จะมีประชาชนในจังหวัดพะเยาและจังหวัดใกล้เคียงมาร่วมงานเป็นจำนวนมาก เนื่อง จากการก่อสร้างพระเจ้าตนหลวง เมื่อครั้งสมัยที่ยุคทองทางพระพุทธศาสนาของล้านนา ประชาชนจึงเชื่อว่าพระเจ้าตนหลวง คือ ตัวแทนของพระพุทธเจ้า ใครที่ได้มากราบสักการะแล้ว จะทำให้เกิดความเป็นสิริมงคล อยู่ดีมีสุขตลอดไป
ลยาณพงศ์" และ "ภาพตะวัน สุวรรณกูฏ" ชะตา พระเจ้าตนหลวงตามตำนาน กล่าวได้ว่า "พระโมลีใหญ่ 20 กำมือ สูง 3 ศอก พระเศียรกลม 6 วา พระเกศามี 1,500 เส้น ขนาดใหญ่ 4 กำมือ ขนาดกลาง 3 กำมือ ขนาดเล็ก 2 กำมือ ขนาดจิ๋ว 1 กำมือ พระพักตร์หน้ายาว 2 วา กว้าง 2 วา พระขนง (คิ้ว) 3 ศอก ระหว่างพระขนงกว้าง 1 ศอก ยาว 3 ศอก กว้าง 1 คืบ ดั้งพระนาสิก 3 ศอก 1 คืบ ใหญ่ 6 กำมือ พระโอษฐ์ (ปาก) ยาว 4 ศอก กว้าง 1 คืบ ใหญ่ 6 กำมือ พระกรรณ (หู) ยาว 6 ศอก กว้างศอกคืบ พระศอ ยาว 2 ศอก กลม 3 วา พระอังสา(บ่า) ยาว 3 คืบ กระดูกด้ามมีดยาว 4 วา ตั้งแต่พระอุระ(อก)ถึงพระชานุ(คาง) 2 วา ตั้งแต่พระถัน(นม)ถึงพระอังสา(ไหล่) 2 วา ตั้งแต่พระนาภี(สะดือ)ถึงพระอุระ(อก) 2 วา ระหว่างพระอุระ(อก)กว้าง 2 วา พระ พาหา (แขน) ยาว 4 วา กลม 29 กำมือ นิ้วพระหัตถ์ใหญ่ 9 กำมือ ยาว 1 วา พระกฏิ(สะเอว)กลม 7 วา ฝ่าพระบาท ยาว 2 วา กว้าง 3 ศอก ระหว่างพระชานุกว้าง 7 วา พระหทัยใหญ่ 6 กำมือ ตั้งแต่ที่ประทับนั่งถึงพระโมลี สูง 8 วา 2 ศอก" พระเจ้าตนหลวง หรือ พระเจ้าองค์หลวง มิใช่เป็นแต่เพียงพระพุทธรูปคู่เมืองพะเยาเท่านั้น แต่ถือเป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองอาณาจักรล้านนาไทยด้วย ในช่วง เดือนหก ประมาณพฤษภาคม ตรงกับวันวิสาขบูชา จะมีงานนมัสการพระเจ้าตนหลวง หรือเทศกาล "แปดเป็ง" จะมีประชาชนในจังหวัดพะเยาและจังหวัดใกล้เคียงมาร่วมงานเป็นจำนวนมาก เนื่อง จากการก่อสร้างพระเจ้าตนหลวง เมื่อครั้งสมัยที่ยุคทองทางพระพุทธศาสนาของล้านนา ประชาชนจึงเชื่อว่าพระเจ้าตนหลวง คือ ตัวแทนของพระฤพุทธเจ้า ใครที่ได้มากราบสักการะแล้ว จะทำให้เกิดความเป็นสิริมงคล อยู่ดีมีสุขตลอดไป
านนา ประชาชนจึงเชื่อว่าพระเจ้าตนหลวง คือ ตัวแทนของพระพุทธเจ้า ใครที่ได้มากราบสักการะแล้ว จะทำให้เกิดความเป็นสิริมงคล อยู่ดีมีสุขตลอดไป
 
ราคาเปิดประมูล :
 9 บาท
ราคาสูงสุด ขณะนี้ :
 1800 บาท
ราคาที่ต้องเพิ่มขึ้น ขั้นต่ำ :
 9 บาท

เงื่อนไขการรับประกัน :
 รับประกันพระแท้ตามมาตรฐานสากลและกฏของเวปครับ

ผู้ตั้งประมูล :
 ภานุวัชร คมขำ
ที่อยู่ :
 92/2 ถ.ฟากน้ำแม่ต๋ำ ต.แม่ต๋ำ อ.เมือง จ.พะเยา THAILAND

เบอร์โทรติดต่อ :
  0848105558, 0848105558
E-mail :
 panuwat2013@hotmail.com

ชื่อบัญชี :
 นาย ภานุวัชร คมขำ
เลขที่ บัญชี :
 5120103405
ประเภท บัญชี :
 ออมทรัพย์
ธนาคาร :
 ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
สาขา :
 พะเยา

วันที่ :
 Thu 23, Dec 2010 12:04:07
โดย : d@ng_phayao    [Feedback +3 -0] [+2 -0]   Thu 23, Dec 2010 12:04:07
 
 
ขายแล้วครับ
 
โดย : d@ng_phayao    [Feedback +3 -0] [+2 -0]     [ 2 ] Mon 3, Jan 2011 10:51:09

 
 
ราคาประมูล : 1800 บาท
 
โดย : dmac2009    [Feedback +4 -0] [+0 -0]     [ 1 ] Fri 24, Dec 2010 22:13:43

 
ประมูล เหรียญพระเจ้าตนหลวงอัลปาก้าพะเยาแขวนเดี่ยวเที่ยวลุยได้ทุกทิศ : พระล้านนา.คอม เว็บ พระเครื่อง พระบูชา อันดับหนึ่ง ของภาคเหนือ ออกแบบเว็บไซต์โดย 2WinWeb design บริการรับทำเว็บไซต์
Copyright Pralanna.com All right reserved. © สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมายโดย บริษัท พระล้านนาดอทคอม จำกัด.