พระล้านนาดอทคอม แหล่งรวมพระเครื่องเมืองเหนือ
โชว์พระเกจิอาจารย์ล้านนา

* * * * * ข้อมูลเหรียญ ย.ยักษ์เล็ก วัดเจดีย์สถาน แม่ริม * * * * *


* * * * * ข้อมูลเหรียญ ย.ยักษ์เล็ก วัดเจดีย์สถาน แม่ริม * * * * *


* * * * * ข้อมูลเหรียญ ย.ยักษ์เล็ก วัดเจดีย์สถาน แม่ริม * * * * *

   
 

เหรียญยักษ์เล็ก (ศิษย์ร่วมสร้าง) วัดเจดีย์สถาน แม่ริม

 

หากกล่าวเหรียญยักษ์เล็ก(ศิษย์ร่วมสร้าง) แห่งวัดเจดีย์สถาน หลายท่านคงรู้จักกันดีและคงมีหลายท่านที่ให้ความสนใจเกี่ยวกับประวัติการสร้างของเหรียญยักษ์เล็ก ของสำนักนี้เป็นแน่ จึงเป็นโจทย์อยู่ในใจของใครหลายๆคนรวมทั้งผมเอง อาทิ ใครเป็นคนสร้าง? สร้างปีไหน? มีกี่เนื้อ? มีเนื้ออะไรบ้าง? สร้างเนื้อละจำนวนเท่าไร? และทำไมมีทั้งตอกโค๊ตและไม่ได้ตอกโค๊ต?(หมายถึง : โค๊ตเจดีย์) วันนี้ขอนำประเด็นนี้มาเล่าสู่กันฟัง

 

หลังจากเป็นประเด็นคำถามกันมาพอสมควร ก็มีหลายๆท่านทั้งนักสะสมรุ่นเก่าและนักสะสมรุ่นใหม่ทั้งในท้องที่และที่อื่น ต่างก็ไปหาข้อมูลประวัติการสร้างเหรียญท้าวเวสสุวรรณ (ศิษย์ร่วมสร้าง) แล้วนำมาเล่าขานกันฟังในสนามพระ อย่างมีเหตุและผลว่าๆกันไป ตามที่ตนได้ทราบมา ซึ่งตัวท่านเองก็อาจจะทราบข้อมูลนั้นอยู่แล้วบ้างบางส่วน แต่ทว่ายังไม่มีใครให้บทสรุปที่ชัดเจนและแน่นอนเป็นหลักฐานที่ชี้ชัดได้ 

 

ตัวผมเองไม่มีเจตนาที่จะเอาข้อมูลของผมมาเป็นมาตรฐานและมาเป็นบันทัดฐานแต่อย่างใด แต่อยากเอามาเล่าสู่กันฟังหรือเพื่อได้ศึกษากันเท่านั้น ในฐานะที่ตัวผมเองก็อยู่ไม่ใกล้ไม่ใกลจากวัดเจดีย์สถานรวมถึงวัดต้นแก้วด้วย :  ข้อมูลเหรียญยักษ์เล็ก (ศิษย์ร่วมสร้าง) วัดเจดีย์สถาน สร้างถวายโดยคณะศิษย์วัดเจดีย์สถาน เมื่อปี 2523 ในสมัยที่พระครูวิรุฬห์ธรรมโกวิท เป็นเจ้าอาวาส ซึ่งในขณะนั้นมีพระอาจารย์เกษม ผู้มีพระคาถาอาคมอันลือชื่อ ร่วมอยู่ในวัดเจดีย์สถานด้วย  เหรียญยักษ์นี้มีการสร้าง 2เนื้อ คือ อัลปาก้า และ ทองแดง , เนื้อทองแดง สร้างประมาณ 3000 เหรียญ ส่วนเนื้ออัลปาก้า  สร้างประมาณ 100 เหรียญ มีทั้งเหรียญที่ตอกโค๊ตและไม่ได้ตอกโค๊ต เหรียญที่ไม่ได้ตอกโค๊ต เนื่องมากจาก โค๊ตมีการตอกภายหลังจากพิธีปลุกเสก พอเสร็จพิธีบางท่านได้บูชาไปก่อน เหรียญจึงไม่ได้ตอกโค๊ต เหรียญที่เหลืออยู่ทางวัดจึงนำมาตอกโค๊ต และบังเอิญว่าตอกได้บางส่วน โค๊ตได้ชำรุดไปก่อนที่จะตอกครบทุกเหรียญ จึงมีเหรียญอีกบางส่วนเช่นกันที่ไม่ได้ตอกโค๊ต นอกจากนี้ยังมีมีเกจิอาจารย์ท่านหนึ่ง(ขออนุญาตไม่กล่าวถึงชื่อท่าน) ซึ่งขณะนั้นท่านเป็นเจ้าคณะอำเภอแม่ริม ท่านได้แยกเอามาออกที่วัดของท่าน เหรียญจึงไม่มีการตอกโค๊ต "เจดีย์" ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของวัดเจดียสถาน ครับ

 

หากข้อมูลนี้มีความผิดพลาดไปประการใด ต้องกราบขออภัย มา ณ โอกาสนี้ หรือถ้าหากท่านมีข้อมูลเพิ่มเติม ผมก็ยินดีรับฟังด้วยความเต็มใจถือว่าเป็นวิทยาทาน สำหรับ ข้อมูลเหรียญยักษ์วัดต้นแก้ว คงจะมีโอกาสที่จะนำมาเสนอกันในโอกาสต่อไป ขอบคุณมากครับ :  เอ๋ ดวงดี

 

 
     
โดย : คนดวงดี   [Feedback +13 -0] [+0 -0]   Mon 11, Jan 2010 19:46:18
 
 

เหรียญยักษ์เล็ก (ศิษย์ร่วมสร้าง) วัดเจดีย์สถาน แม่ริม

 

หากกล่าวเหรียญยักษ์เล็ก(ศิษย์ร่วมสร้าง) แห่งวัดเจดีย์สถาน หลายท่านคงรู้จักกันดีและคงมีหลายท่านที่ให้ความสนใจเกี่ยวกับประวัติการสร้างของเหรียญยักษ์เล็ก ของสำนักนี้เป็นแน่ จึงเป็นโจทย์อยู่ในใจของใครหลายๆคน อาทิ ใครเป็นคนสร้าง? สร้างปีไหน? มีกี่เนื้อ? มีเนื้ออะไรบ้าง? สร้างเนื้อละจำนวนเท่าไร? และทำไมมีทั้งตอกโค๊ตและไม่ได้ตอกโค๊ต?(หมายถึง : โค๊ตเจดีย์) วันนี้ขอนำประเด็นนี้มาเล่าสู่กันฟัง

 

หลังจากเป็นประเด็นคำถามกันมาพอสมควร ก็มีหลายๆท่านทั้งนักสะสมรุ่นเก่าและนักสะสมรุ่นใหม่ทั้งในท้องที่และที่อื่น ต่างก็ไปหาข้อมูลประวัติการสร้างเหรียญท้าวเวสสุวรรณ (ศิษย์ร่วมสร้าง) แล้วนำมาเล่าขานกันฟังในสนามพระ อย่างมีเหตุและผลว่าๆกันไป ตามที่ตนได้ทราบมา ซึ่งตัวท่านเองก็อาจจะทราบข้อมูลนั้นอยู่แล้วบ้างบางส่วน แต่ทว่ายังไม่มีใครให้บทสรุปที่ชัดเจนและแน่นอนเป็นหลักฐานที่ชี้ชัดได้ 

 

ตัวผมเองไม่มีเจตนาที่จะเอาข้อมูลของผมมาเป็นมาตรฐานและมาเป็นบันทัดฐานแต่อย่างใด แต่อยากเอามาเล่าสู่กันฟังหรือเพื่อได้ศึกษากันเท่านั้น ในฐานะที่ตัวผมเองก็อยู่ไม่ใกล้ไม่ใกลจากวัดเจดีย์สถานรวมถึงวัดต้นแก้วด้วย :  ข้อมูลเหรียญยักษ์เล็ก (ศิษย์ร่วมสร้าง) วัดเจดีย์สถาน สร้างถวายโดยคณะศิษย์วัดเจดีย์สถาน เมื่อปี 2523 ในสมัยที่พระครูวิรุฬห์ธรรมโกวิท เป็นเจ้าอาวาส ซึ่งในขณะนั้นมีพระอาจารย์เกษม ผู้มีพระคาถาอาคมอันลือชื่อ ร่วมอยู่ในวัดเจดีย์สถานด้วย  เหรียญยักษ์นี้มีการสร้าง 2เนื้อ คือ อัลปาก้า และ ทองแดง , เนื้อทองแดง สร้างประมาณ 3000 เหรียญ ส่วนเนื้ออัลปาก้า  สร้างประมาณ 100 เหรียญ มีทั้งเหรียญที่ตอกโค๊ตและไม่ได้ตอกโค๊ต เหรียญที่ไม่ได้ตอกโค๊ต เนื่องมากจาก โค๊ตมีการตอกภายหลังจากพิธีปลุกเสก พอเสร็จพิธีบางท่านได้บูชาไปก่อน เหรียญจึงไม่ได้ตอกโค๊ต เหรียญที่เหลืออยู่ทางวัดจึงมาตอกโค๊ต และบังเอิญว่าโค๊ตได้ชำรุดไปก่อนที่จะตอกครบทุกเหรียญ จึงมีเหรียญอีกบางส่วนเช่นกันที่ไม่ได้ตอกโค๊ต นอกจากนี้ยังมีมีเกจิอาจารย์ท่านหนึ่ง(ขออนุญาตไม่กล่าวถึงชื่อท่าน) ซึ่งขณะนั้นท่านเป็นเจ้าคณะอำเภอแม่ริม ท่านได้แยกเอามาออกที่วัดของท่าน เหรียญจึงไม่มีการตอกโค๊ต "เจดีย์" ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของวัดเจดียสถาน ครับ

 

หากข้อมูลนี้มีความผิดพลาดไปประการใด ต้องกราบขออภัย มา ณ โอกาสนี้ หรือถ้าหากท่านมีข้อมูลเพิ่มเติม ก็ยินดีรับฟังด้วยความเต็มใจ สำหรับ ข้อมูลเหรียญยักษ์วัดต้นแก้ว คงมีโอกาสที่จะนำมาเสนอกันในโอกาสต่อไป ขอบคุณมากครับ :  เอ๋ ดวงดี

 

 
โดย : คนดวงดี    [Feedback +13 -0] [+0 -0]   [ 1 ] Mon 11, Jan 2010 19:50:14

 

เหรียญยักษ์เล็ก (ศิษย์ร่วมสร้าง) วัดเจดีย์สถาน แม่ริม

 

หากกล่าวเหรียญยักษ์เล็ก(ศิษย์ร่วมสร้าง) แห่งวัดเจดีย์สถาน หลายท่านคงรู้จักกันดีและคงมีหลายท่านที่ให้ความสนใจเกี่ยวกับประวัติการสร้างของเหรียญยักษ์เล็ก ของสำนักนี้เป็นแน่ จึงเป็นโจทย์อยู่ในใจของใครหลายๆคน อาทิ ใครเป็นคนสร้าง? สร้างปีไหน? มีกี่เนื้อ? มีเนื้ออะไรบ้าง? สร้างเนื้อละจำนวนเท่าไร? และทำไมมีทั้งตอกโค๊ตและไม่ได้ตอกโค๊ต?(หมายถึง : โค๊ตเจดีย์) วันนี้ขอนำประเด็นนี้มาเล่าสู่กันฟัง

 

หลังจากเป็นประเด็นคำถามกันมาพอสมควร ก็มีหลายๆท่านทั้งนักสะสมรุ่นเก่าและนักสะสมรุ่นใหม่ทั้งในท้องที่และที่อื่น ต่างก็ไปหาข้อมูลประวัติการสร้างเหรียญท้าวเวสสุวรรณ (ศิษย์ร่วมสร้าง) แล้วนำมาเล่าขานกันฟังในสนามพระ อย่างมีเหตุและผลว่าๆกันไป ตามที่ตนได้ทราบมา ซึ่งตัวท่านเองก็อาจจะทราบข้อมูลนั้นอยู่แล้วบ้างบางส่วน แต่ทว่ายังไม่มีใครให้บทสรุปที่ชัดเจนและแน่นอนเป็นหลักฐานที่ชี้ชัดได้ 

 

ตัวผมเองไม่มีเจตนาที่จะเอาข้อมูลของผมมาเป็นมาตรฐานและมาเป็นบันทัดฐานแต่อย่างใด แต่อยากเอามาเล่าสู่กันฟังหรือเพื่อได้ศึกษากันเท่านั้น ในฐานะที่ตัวผมเองก็อยู่ไม่ใกล้ไม่ใกลจากวัดเจดีย์สถานรวมถึงวัดต้นแก้วด้วย :  ข้อมูลเหรียญยักษ์เล็ก (ศิษย์ร่วมสร้าง) วัดเจดีย์สถาน สร้างถวายโดยคณะศิษย์วัดเจดีย์สถาน เมื่อปี 2523 ในสมัยที่พระครูวิรุฬห์ธรรมโกวิท เป็นเจ้าอาวาส ซึ่งในขณะนั้นมีพระอาจารย์เกษม ผู้มีพระคาถาอาคมอันลือชื่อ ร่วมอยู่ในวัดเจดีย์สถานด้วย  เหรียญยักษ์นี้มีการสร้าง 2เนื้อ คือ อัลปาก้า และ ทองแดง , เนื้อทองแดง สร้างประมาณ 3000 เหรียญ ส่วนเนื้ออัลปาก้า  สร้างประมาณ 100 เหรียญ มีทั้งเหรียญที่ตอกโค๊ตและไม่ได้ตอกโค๊ต เหรียญที่ไม่ได้ตอกโค๊ต เนื่องมากจาก โค๊ตมีการตอกภายหลังจากพิธีปลุกเสก พอเสร็จพิธีบางท่านได้บูชาไปก่อน เหรียญจึงไม่ได้ตอกโค๊ต เหรียญที่เหลืออยู่ทางวัดจึงมาตอกโค๊ต และบังเอิญว่าโค๊ตได้ชำรุดไปก่อนที่จะตอกครบทุกเหรียญ จึงมีเหรียญอีกบางส่วนเช่นกันที่ไม่ได้ตอกโค๊ต นอกจากนี้ยังมีมีเกจิอาจารย์ท่านหนึ่ง(ขออนุญาตไม่กล่าวถึงชื่อท่าน) ซึ่งขณะนั้นท่านเป็นเจ้าคณะอำเภอแม่ริม ท่านได้แยกเอามาออกที่วัดของท่าน เหรียญจึงไม่มีการตอกโค๊ต "เจดีย์" ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของวัดเจดียสถาน ครับ

 

หากข้อมูลนี้มีความผิดพลาดไปประการใด ต้องกราบขออภัย มา ณ โอกาสนี้ หรือถ้าหากท่านมีข้อมูลเพิ่มเติม ก็ยินดีรับฟังด้วยความเต็มใจ สำหรับ ข้อมูลเหรียญยักษ์วัดต้นแก้ว คงมีโอกาสที่จะนำมาเสนอกันในโอกาสต่อไป ขอบคุณมากครับ :  เอ๋ ดวงดี

 

 
โดย : คนดวงดี    [Feedback +13 -0] [+0 -0]   [ 2 ] Mon 11, Jan 2010 19:53:49

 
ขออภัยในความผิดพลาด ครับ
 
โดย : คนดวงดี    [Feedback +13 -0] [+0 -0]   [ 3 ] Mon 11, Jan 2010 19:55:01

 

เหรียญยักษ์เล็ก (ศิษย์ร่วมสร้าง) วัดเจดีย์สถาน แม่ริม

 

หากกล่าวเหรียญยักษ์เล็ก(ศิษย์ร่วมสร้าง) แห่งวัดเจดีย์สถาน หลายท่านคงรู้จักกันดีและคงมีหลายท่านที่ให้ความสนใจเกี่ยวกับประวัติการสร้างของเหรียญยักษ์เล็ก ของสำนักนี้เป็นแน่ จึงเป็นโจทย์อยู่ในใจของใครหลายๆคน อาทิ ใครเป็นคนสร้าง? สร้างปีไหน? มีกี่เนื้อ? มีเนื้ออะไรบ้าง? สร้างเนื้อละจำนวนเท่าไร? และทำไมมีทั้งตอกโค๊ตและไม่ได้ตอกโค๊ต?(หมายถึง : โค๊ตเจดีย์) วันนี้ขอนำประเด็นนี้มาเล่าสู่กันฟัง

 

หลังจากเป็นประเด็นคำถามกันมาพอสมควร ก็มีหลายๆท่านทั้งนักสะสมรุ่นเก่าและนักสะสมรุ่นใหม่ทั้งในท้องที่และที่อื่น ต่างก็ไปหาข้อมูลประวัติการสร้างเหรียญท้าวเวสสุวรรณ (ศิษย์ร่วมสร้าง) แล้วนำมาเล่าขานกันฟังในสนามพระ อย่างมีเหตุและผลว่าๆกันไป ตามที่ตนได้ทราบมา ซึ่งตัวท่านเองก็อาจจะทราบข้อมูลนั้นอยู่แล้วบ้างบางส่วน แต่ทว่ายังไม่มีใครให้บทสรุปที่ชัดเจนและแน่นอนเป็นหลักฐานที่ชี้ชัดได้ 

 

ตัวผมเองไม่มีเจตนาที่จะเอาข้อมูลของผมมาเป็นมาตรฐานและมาเป็นบันทัดฐานแต่อย่างใด แต่อยากเอามาเล่าสู่กันฟังหรือเพื่อได้ศึกษากันเท่านั้น ในฐานะที่ตัวผมเองก็อยู่ไม่ใกล้ไม่ใกลจากวัดเจดีย์สถานรวมถึงวัดต้นแก้วด้วย :  ข้อมูลเหรียญยักษ์เล็ก (ศิษย์ร่วมสร้าง) วัดเจดีย์สถาน สร้างถวายโดยคณะศิษย์วัดเจดีย์สถาน เมื่อปี 2523 ในสมัยที่พระครูวิรุฬห์ธรรมโกวิท เป็นเจ้าอาวาส ซึ่งในขณะนั้นมีพระอาจารย์เกษม ผู้มีพระคาถาอาคมอันลือชื่อ ร่วมอยู่ในวัดเจดีย์สถานด้วย  เหรียญยักษ์นี้มีการสร้าง 2เนื้อ คือ อัลปาก้า และ ทองแดง , เนื้อทองแดง สร้างประมาณ 3000 เหรียญ ส่วนเนื้ออัลปาก้า  สร้างประมาณ 100 เหรียญ มีทั้งเหรียญที่ตอกโค๊ตและไม่ได้ตอกโค๊ต เหรียญที่ไม่ได้ตอกโค๊ต เนื่องมากจาก โค๊ตมีการตอกภายหลังจากพิธีปลุกเสก พอเสร็จพิธีบางท่านได้บูชาไปก่อน เหรียญจึงไม่ได้ตอกโค๊ต เหรียญที่เหลืออยู่ทางวัดจึงมาตอกโค๊ต และบังเอิญว่าโค๊ตได้ชำรุดไปก่อนที่จะตอกครบทุกเหรียญ จึงมีเหรียญอีกบางส่วนเช่นกันที่ไม่ได้ตอกโค๊ต นอกจากนี้ยังมีมีเกจิอาจารย์ท่านหนึ่ง(ขออนุญาตไม่กล่าวถึงชื่อท่าน) ซึ่งขณะนั้นท่านเป็นเจ้าคณะอำเภอแม่ริม ท่านได้แยกเอามาออกที่วัดของท่าน เหรียญจึงไม่มีการตอกโค๊ต "เจดีย์" ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของวัดเจดียสถาน ครับ

 

หากข้อมูลนี้มีความผิดพลาดไปประการใด ต้องกราบขออภัย มา ณ โอกาสนี้ หรือถ้าหากท่านมีข้อมูลเพิ่มเติม ก็ยินดีรับฟังด้วยความเต็มใจ สำหรับ ข้อมูลเหรียญยักษ์วัดต้นแก้ว คงมีโอกาสที่จะนำมาเสนอกันในโอกาสต่อไป ขอบคุณมากครับ :  เอ๋ ดวงดี

 

 
โดย : คนดวงดี    [Feedback +13 -0] [+0 -0]   [ 4 ] Mon 11, Jan 2010 20:10:28

 

เหรียญยักษ์เล็ก (ศิษย์ร่วมสร้าง) วัดเจดีย์สถาน แม่ริม 

 

 

 

หากกล่าวเหรียญยักษ์เล็ก(ศิษย์ร่วมสร้าง) แห่งวัดเจดีย์สถาน หลายท่านคงรู้จักกันดีและคงมีหลายท่านที่ให้ความสนใจเกี่ยวกับประวัติการสร้างของเหรียญยักษ์เล็ก ของสำนักนี้เป็นแน่ จึงเป็นโจทย์อยู่ในใจของใครหลายๆคน อาทิ ใครเป็นคนสร้าง? สร้างปีไหน? มีกี่เนื้อ? มีเนื้ออะไรบ้าง? สร้างเนื้อละจำนวนเท่าไร? และทำไมมีทั้งตอกโค๊ตและไม่ได้ตอกโค๊ต?(หมายถึง : โค๊ตเจดีย์) วันนี้ขอนำประเด็นนี้มาเล่าสู่กันฟัง 

 

 

 

หลังจากเป็นประเด็นคำถามกันมาพอสมควร ก็มีหลายๆท่านทั้งนักสะสมรุ่นเก่าและนักสะสมรุ่นใหม่ทั้งในท้องที่และที่อื่น ต่างก็ไปหาข้อมูลประวัติการสร้างเหรียญท้าวเวสสุวรรณ (ศิษย์ร่วมสร้าง) แล้วนำมาเล่าขานกันฟังในสนามพระ อย่างมีเหตุและผลว่าๆกันไป ตามที่ตนได้ทราบมา ซึ่งตัวท่านเองก็อาจจะทราบข้อมูลนั้นอยู่แล้วบ้างบางส่วน แต่ทว่ายังไม่มีใครให้บทสรุปที่ชัดเจนและแน่นอนเป็นหลักฐานที่ชี้ชัดได้ 

 

 

 

ตัวผมเองไม่มีเจตนาที่จะเอาข้อมูลของผมมาเป็นมาตรฐานและมาเป็นบันทัดฐานแต่อย่างใด แต่อยากเอามาเล่าสู่กันฟังหรือเพื่อได้ศึกษากันเท่านั้น ในฐานะที่ตัวผมเองก็อยู่ไม่ใกล้ไม่ใกลจากวัดเจดีย์สถานรวมถึงวัดต้นแก้วด้วย :  ข้อมูลเหรียญยักษ์เล็ก (ศิษย์ร่วมสร้าง) วัดเจดีย์สถาน สร้างถวายโดยคณะศิษย์วัดเจดีย์สถาน เมื่อปี 2523 ในสมัยที่พระครูวิรุฬห์ธรรมโกวิท เป็นเจ้าอาวาส ซึ่งในขณะนั้นมีพระอาจารย์เกษม ผู้มีพระคาถาอาคมอันลือชื่อ ร่วมอยู่ในวัดเจดีย์สถานด้วย  เหรียญยักษ์นี้มีการสร้าง 2เนื้อ คือ อัลปาก้า และ ทองแดง , เนื้อทองแดง สร้างประมาณ 3000 เหรียญ ส่วนเนื้ออัลปาก้า  สร้างประมาณ 100 เหรียญ มีทั้งเหรียญที่ตอกโค๊ตและไม่ได้ตอกโค๊ต เหรียญที่ไม่ได้ตอกโค๊ต เนื่องมากจาก โค๊ตมีการตอกภายหลังจากพิธีปลุกเสก พอเสร็จพิธีบางท่านได้บูชาไปก่อน เหรียญจึงไม่ได้ตอกโค๊ต เหรียญที่เหลืออยู่ทางวัดจึงมาตอกโค๊ต และบังเอิญว่าโค๊ตได้ชำรุดไปก่อนที่จะตอกครบทุกเหรียญ จึงมีเหรียญอีกบางส่วนเช่นกันที่ไม่ได้ตอกโค๊ต นอกจากนี้ยังมีมีเกจิอาจารย์ท่านหนึ่ง(ขออนุญาตไม่กล่าวถึงชื่อท่าน) ซึ่งขณะนั้นท่านเป็นเจ้าคณะอำเภอแม่ริม ท่านได้แยกเอามาออกที่วัดของท่าน เหรียญจึงไม่มีการตอกโค๊ต "เจดีย์" ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของวัดเจดียสถาน ครับ 

 

 

 

หากข้อมูลนี้มีความผิดพลาดไปประการใด ต้องกราบขออภัย มา ณ โอกาสนี้ หรือถ้าหากท่านมีข้อมูลเพิ่มเติม ก็ยินดีรับฟังด้วยความเต็มใจ สำหรับ ข้อมูลเหรียญยักษ์วัดต้นแก้ว คงมีโอกาสที่จะนำมาเสนอกันในโอกาสต่อไป ขอบคุณมากครับ :  เอ๋ ดวงดี

 

 
โดย : พระช้างเผือก    [Feedback +37 -0] [+0 -0]   [ 5 ] Mon 11, Jan 2010 20:16:42





 

ขออภัย  ที่แทรกเข้ามา นะค๊าฟ  พี่เอ๋ ที่เคารพ

 
โดย : พระช้างเผือก    [Feedback +37 -0] [+0 -0]   [ 6 ] Mon 11, Jan 2010 20:17:32

 

เหรียญยักษ์เล็ก (ศิษย์ร่วมสร้าง) วัดเจดีย์สถาน แม่ริม

 

หากกล่าวเหรียญยักษ์เล็ก(ศิษย์ร่วมสร้าง) แห่งวัดเจดีย์สถาน หลายท่านคงรู้จักกันดีและคงมีหลายท่านที่ให้ความสนใจเกี่ยวกับประวัติการสร้างของเหรียญยักษ์เล็ก ของสำนักนี้เป็นแน่ จึงเป็นโจทย์อยู่ในใจของใครหลายๆคน อาทิ ใครเป็นคนสร้าง? สร้างปีไหน? มีกี่เนื้อ? มีเนื้ออะไรบ้าง? สร้างเนื้อละจำนวนเท่าไร? และทำไมมีทั้งตอกโค๊ตและไม่ได้ตอกโค๊ต?(หมายถึง : โค๊ตเจดีย์) วันนี้ขอนำประเด็นนี้มาเล่าสู่กันฟัง

 

หลังจากเป็นประเด็นคำถามกันมาพอสมควร ก็มีหลายๆท่านทั้งนักสะสมรุ่นเก่าและนักสะสมรุ่นใหม่ทั้งในท้องที่และที่อื่น ต่างก็ไปหาข้อมูลประวัติการสร้างเหรียญท้าวเวสสุวรรณ (ศิษย์ร่วมสร้าง) แล้วนำมาเล่าขานกันฟังในสนามพระ อย่างมีเหตุและผลว่าๆกันไป ตามที่ตนได้ทราบมา ซึ่งตัวท่านเองก็อาจจะทราบข้อมูลนั้นอยู่แล้วบ้างบางส่วน แต่ทว่ายังไม่มีใครให้บทสรุปที่ชัดเจนแน่นอนเป็นหลักฐานที่ชี้ชัดได้ 

 

ตัวผมเองไม่มีเจตนาที่จะเอาข้อมูลของผมมาเป็นมาตรฐานและมาเป็นบันทัดฐานแต่อย่างใด แต่อยากเอามาเล่าสู่กันฟังหรือเพื่อได้ศึกษากันเท่านั้น ในฐานะที่ตัวผมเองก็อยู่ไม่ใกล้ไม่ใกลจากวัดเจดีย์สถานรวมถึงวัดต้นแก้วด้วย :  ข้อมูลเหรียญยักษ์เล็ก (ศิษย์ร่วมสร้าง) วัดเจดีย์สถาน สร้างถวายโดยคณะศิษย์วัดเจดีย์สถาน เมื่อปี 2523 ในสมัยที่พระครูวิรุฬห์ธรรมโกวิท เป็นเจ้าอาวาส ซึ่งในขณะนั้นมีพระอาจารย์เกษม เกตธัมโม ผู้มีพระคาถาอาคมอันลือชื่อ ร่วมอยู่ในวัดเจดีย์สถานด้วย  เหรียญยักษ์นี้มีการสร้าง 2เนื้อ คือ อัลปาก้า และ ทองแดง , เนื้อทองแดง สร้างประมาณ 3000 เหรียญ ส่วนเนื้ออัลปาก้า  สร้างประมาณ 100 เหรียญ มีทั้งเหรียญที่ตอกโค๊ตและไม่ได้ตอกโค๊ต เหรียญที่ไม่ได้ตอกโค๊ต เนื่องมากจาก โค๊ตมีการตอกภายหลังจากพิธีปลุกเสก พอเสร็จพิธีบางท่านได้บูชาไปก่อน เหรียญจึงไม่ได้ตอกโค๊ต เหรียญที่เหลืออยู่ทางวัดจึงมาตอกโค๊ต และบังเอิญว่าโค๊ตได้ชำรุดไปก่อนที่จะตอกครบทุกเหรียญ จึงมีเหรียญอีกบางส่วนเช่นกันที่ไม่ได้ตอกโค๊ต นอกจากนี้ยังมีมีเกจิอาจารย์ท่านหนึ่ง(ขออนุญาตไม่กล่าวถึงชื่อท่าน) ซึ่งขณะนั้นท่านเป็นเจ้าคณะอำเภอแม่ริม ท่านได้แยกเอามาออกที่วัดของท่าน เหรียญจึงไม่มีการตอกโค๊ต "เจดีย์" ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของวัดเจดียสถาน ครับ

 

หากข้อมูลนี้มีความผิดพลาดไปประการใด ต้องกราบขออภัย มา ณ โอกาสนี้ หรือถ้าหากท่านมีข้อมูลเพิ่มเติม ก็ยินดีรับฟังด้วยความเต็มใจ สำหรับ ข้อมูลเหรียญยักษ์วัดต้นแก้ว คงมีโอกาสที่จะนำมาเสนอกันในโอกาสต่อไป ขอบคุณมากครับ :  เอ๋ ดวงดี

 

 
โดย : คนดวงดี    [Feedback +13 -0] [+0 -0]   [ 7 ] Mon 11, Jan 2010 20:36:15

 

เหรียญยักษ์เล็ก (ศิษย์ร่วมสร้าง) วัดเจดีย์สถาน แม่ริม

หากกล่าวเหรียญยักษ์เล็ก(ศิษย์ร่วมสร้าง) แห่งวัดเจดีย์สถาน หลายท่านคงรู้จักกันดีและคงมีหลายท่านที่ให้ความสนใจเกี่ยวกับประวัติการสร้างของเหรียญยักษ์เล็ก ของสำนักนี้เป็นแน่ จึงเป็นโจทย์อยู่ในใจของใครหลายๆคน อาทิ ใครเป็นคนสร้าง? สร้างปีไหน? มีกี่เนื้อ? มีเนื้ออะไรบ้าง? สร้างเนื้อละจำนวนเท่าไร? และทำไมมีทั้งตอกโค๊ตและไม่ได้ตอกโค๊ต?(หมายถึง : โค๊ตเจดีย์) วันนี้ขอนำประเด็นนี้มาเล่าสู่กันฟัง

หลังจากเป็นประเด็นคำถามกันมาพอสมควร ก็มีหลายๆท่านทั้งนักสะสมรุ่นเก่าและนักสะสมรุ่นใหม่ทั้งในท้องที่และที่อื่น ต่างก็ไปหาข้อมูลประวัติการสร้างเหรียญท้าวเวสสุวรรณ (ศิษย์ร่วมสร้าง) แล้วนำมาเล่าขานกันฟังในสนามพระ อย่างมีเหตุและผลว่าๆกันไป ตามที่ตนได้ทราบมา ซึ่งตัวท่านเองก็อาจจะทราบข้อมูลนั้นอยู่แล้วบ้างบางส่วน แต่ทว่ายังไม่มีใครให้บทสรุปที่ชัดเจนแน่นอนเป็นหลักฐานที่ชี้ชัดได้ 

ตัวผมเองไม่มีเจตนาที่จะเอาข้อมูลของผมมาเป็นมาตรฐานและมาเป็นบันทัดฐานแต่อย่างใด แต่อยากเอามาเล่าสู่กันฟังหรือเพื่อได้ศึกษากันเท่านั้น ในฐานะที่ตัวผมเองก็อยู่ไม่ใกล้ไม่ใกลจากวัดเจดีย์สถานรวมถึงวัดต้นแก้วด้วย :  ข้อมูลเหรียญยักษ์เล็ก (ศิษย์ร่วมสร้าง) วัดเจดีย์สถาน สร้างถวายโดยคณะศิษย์วัดเจดีย์สถาน เมื่อปี 2523 ในสมัยที่พระครูวิรุฬห์ธรรมโกวิท เป็นเจ้าอาวาส ซึ่งในขณะนั้นมีพระอาจารย์เกษม เกตธัมโม ผู้มีพระคาถาอาคมอันลือชื่อ ร่วมอยู่ในวัดเจดีย์สถานด้วย  เหรียญยักษ์นี้มีการสร้าง 2เนื้อ คือ อัลปาก้า และ ทองแดง , เนื้อทองแดง สร้างประมาณ 3000 เหรียญ ส่วนเนื้ออัลปาก้า  สร้างประมาณ 100 เหรียญ มีทั้งเหรียญที่ตอกโค๊ตและไม่ได้ตอกโค๊ต เหรียญที่ไม่ได้ตอกโค๊ต เนื่องมากจาก โค๊ตมีการตอกภายหลังจากพิธีปลุกเสก พอเสร็จพิธีบางท่านได้บูชาไปก่อน เหรียญจึงไม่ได้ตอกโค๊ต เหรียญที่เหลืออยู่ทางวัดจึงมาตอกโค๊ต และบังเอิญว่าโค๊ตได้ชำรุดไปก่อนที่จะตอกครบทุกเหรียญ จึงมีเหรียญอีกบางส่วนเช่นกันที่ไม่ได้ตอกโค๊ต นอกจากนี้ยังมีมีเกจิอาจารย์ท่านหนึ่ง(ขออนุญาตไม่กล่าวถึงชื่อท่าน) ซึ่งขณะนั้นท่านเป็นเจ้าคณะอำเภอแม่ริม ท่านได้แยกเอามาออกที่วัดของท่าน เหรียญจึงไม่มีการตอกโค๊ต "เจดีย์" ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของวัดเจดียสถาน ครับ

หากข้อมูลนี้มีความผิดพลาดไปประการใด ต้องกราบขออภัย มา ณ โอกาสนี้ หรือถ้าหากท่านมีข้อมูลเพิ่มเติม ก็ยินดีรับฟังด้วยความเต็มใจ สำหรับ ข้อมูลเหรียญยักษ์วัดต้นแก้ว คงมีโอกาสที่จะนำมาเสนอกันในโอกาสต่อไป ขอบคุณมากครับ :  เอ๋ ดวงดี

 
โดย : คนดวงดี    [Feedback +13 -0] [+0 -0]   [ 8 ] Mon 11, Jan 2010 20:54:05

 

ขอรบกวน Admin ช่วยลบประทู้นี้ด้วยครับ

 
โดย : คนดวงดี    [Feedback +13 -0] [+0 -0]   [ 9 ] Mon 11, Jan 2010 20:58:05

 
* * * * * ข้อมูลเหรียญ ย.ยักษ์เล็ก วัดเจดีย์สถาน แม่ริม * * * * * : พระล้านนา.คอม เว็บ พระเครื่อง พระบูชา อันดับหนึ่ง ของภาคเหนือ ออกแบบเว็บไซต์โดย 2WinWeb design บริการรับทำเว็บไซต์
Copyright Pralanna.com All right reserved. © สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมายโดย บริษัท พระล้านนาดอทคอม จำกัด.